Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79927
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Chanamart Intapan | - |
dc.contributor.author | Augustine Kwabena Sowu | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-02T01:23:03Z | - |
dc.date.available | 2024-08-02T01:23:03Z | - |
dc.date.issued | 2024-06-25 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79927 | - |
dc.description.abstract | This thesis employs a copula-based stochastic frontier modeling (copula-SFM) framework to empirically assess the efficiency of resource-rich countries in utilizing resource rent within Sub-Saharan Africa. The primary objective is to provide robust scientific evidence to aid these nations in maximizing their mineral resource utilization. Model selection criteria, specifically the Bayesian Information Criterion (BIC) and Akaike Information Criterion (AIC), identify the Normal copula-SFM as the superior choice. The findings emphasize the pivotal role of government effectiveness and population growth as strong, positive determinants of per capita income in the selected countries. In terms of average technical efficiency (TE) scores, Equatorial Guinea leads the rankings with an impressive score of 0.9907, while Tanzania trails with the lowest average TE score of 0.8177. These results underscore the potential for enhancing resource-rich countries' economic performance through effective governance and managing population growth. It was discovered that the countries that have effectively managed their resource wealth avoided the resource curse through a three-pronged strategy. These countries pursued economic diversification, de-linked government expenditure from revenue, and invested surplus revenue for the benefit of future generations. It is recommended that low performing countries enhance their performance by accelerating diversification and increasing private sector participation by creating a favorable environment for business and innovation. They are also encouraged to digitalize and expand internet access, which can open new markets and harness the region's inherent dynamism and creativity. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Economic Growth, Sub-Saharan Africa, Technical Efficiency, Natural Resource Rent, Institutions, Copula Stochastic Frontier Model | en_US |
dc.title | Economic growth in Sub-Saharan Africa: analysis of technical efficiency of natural resource rent and institutions based on a Copula Stochastic Frontier model | en_US |
dc.title.alternative | การเติบโตทางเศรษฐกิจในแอฟริกาตอนใต้ของทะเลทรายซาฮารา: การวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคของค่าเช่าทรัพยากรธรรมชาติและสถาบันตามแบบจาลองพรมแดนสุ่มแบบคอปปูลา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | South Africa -- Economic conditions | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Sub-Saharan Africa | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Natural resources -- South Africa | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Copula Stochastic Frontier model | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้ใช้กรอบการสร้างแบบจา ลองขอบเขตสุ่มคอปูลา (copula-SFM) เพื่อประเมินเชิงประจักษ์ถึงประสิทธิภาพของประเทศที่อุดมไปด้วยทรัพยากรในการใช้ทรัพยากรให้เช่าในแอฟริกาใต้ซาฮารา โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อการจัดเตรียมหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่แข็งแกร่งเพื่อช่วยเหลือประเทศเหล่านี้ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งเกณฑ์การเลือกแบบจาลอง จากวิธีเกณฑ์การคัดเลือกตัวแบบโดยข้อสนเทศของเบยส์ (BIC) และ เกณฑ์ข้อสนเทศของอาไคแคะ (AIC) ระบุได้ว่าแบบจำลองขอบเขตสุ่มคอปูลาปกติเป็นตัวเลือกที่ดีกว่า การค้นพบจากการศึกษาครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นว่าประสิทธิผลของรัฐบาลและการเติบโตของประชากรเป็นปัจจัยเชิงบวกของการกาหนดรายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อคนในประเทศที่เลือก ส่วนการค้นพบในแง่ของคะแนนประสิทธิภาพทางเทคนิคโดยเฉลี่ย พบว่าประเทศอิเควทอเรียลกินีมีคะแนนประสิทธิภาพทางเทคนิคโดยเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ที่ 0.9907 ในขณะเดียวกันประเทศที่มีคะแนนประสิทธิภาพทางเทคนิคโดยเฉลี่ยต่ำที่สุดคือประเทศแทนซาเนีย โดยมีคะแนนอยู่ที่ 0.8177 จากผลลัพธ์เหล่านี้ได้เน้นย้ำ ถึงศักยภาพในการเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจของประเทศที่อุดมไปด้วยทรัพยากร ผ่านวิธีการกา กับดูแลที่มีประสิทธิผลและการจัดการการเติบโตของประชากร จากการศึกษาทั้งหมดได้ค้นพบว่าประเทศที่มีการจัดการความมั่งคั่งของทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสามารถหลีกเลี่ยงคำสาปทรัพยากรได้ด้วยยุทธศาสตร์สามง่าม โดยประเทศเหล่านี้ได้ดำเนินการเกี่ยวกับการกระจายความหลากหลายทางเศรษฐกิจ ตัดการเชื่อมโยงรายจ่ายของรัฐบาลจากรายได้ และมีการลงทุนรายได้ส่วนเกินเพื่อประโยชน์ของคนรุ่นอนาคต จากที่กล่าวมาจึงมีคำแนะนำว่าให้ประเทศที่มีประสิทธิภาพต่ำปรับปรุงประสิทธิภาพของตนโดยการเร่งให้เกิดความหลากหลาย และเพิ่มการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนโดยการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อธุรกิจและนวัตกรรม อีกทั้งประเทศเหล่านี้ยังได้รับการสนับสนุนให้ใช้ระบบดิจิทัลและขยายการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ซึ่งสามารถเปิดตลาดใหม่ๆ และใช้ประโยชน์จากพลวัตของภูมิภาคและความคิดสร้างสรรค์ | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651635809-Augustine Kwabena Sowu.pdf | 12.33 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.