Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79924
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTeera Chewonarin-
dc.contributor.advisorPornsiri Pitchakarn-
dc.contributor.advisorOrawan Khantamat-
dc.contributor.authorHu, Rentongen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T16:58:40Z-
dc.date.available2024-07-28T16:58:40Z-
dc.date.issued2022-07-25-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79924-
dc.description.abstractThe effects of Ficus dubia latex extract (FDLE) on rat colonic carcinogenesis and molecular mechanism were investigated in this study. Firstly, DMH was used to induce aberrant crypt foci (ACF) formation in rat colon in the initiation stage. Rats were fed orally by 100 and 500 mg/kg bw of FDLE continuously from the first week before DMH injection (40 mg/kg bodyweight, once a week for 2 weeks) until the end of the experiment. The results indicated that FDLE administration at dose of 500 mg/kg bw significantly reduced the total number of ACF (37.3% inhibition) when compared to the DMH-treated alone. Rats treated with FDLE showed the inhibition of liver phase I enzyme, correlated to lowering the phase II enzyme, including glutathione-S-transferase; GST and UDP glucuronyl transferase; UDPGT. These inhibitions caused the reduction of O 6 - methylguanine in rat liver and metylazozymethanol (MAM)-glucuronide conjugate secreted to colonic lumen. Moreover, FDLE exhibited competitive inhibition of bacterial β-glucuronidase in rat colon leading to the reduction of reactivated-MAM and colonic DNA adduct formation. These results affected the initiative formation of ACF in rat colon.Secondly, DMH was also used to induce rat colorectal carcinogenesis in the post- initiation stage. Rats were initially injected with DMH once a week for 2 weeks to induce ACF formation, after 2 weeks of the second DMH injection, FDLE administration at doses of 100 and 500 mg/kg bw were started and continued for 4 weeks until the end of the experiment during the ACF progression. The results revealed that FDLE administration at doses of 100 and 500 mg/kg bw also significantly reduced the total number of ACF (32,5% and 48.0% inhibition, respectively) and significantly decreased the average crypt multiplicity (AC/F) (16.7% and 18.4% inhibition, respectively) when compared to the rats that were only treated with DMH. These results were caused from modulating the aberrant colonic mucosal cell proliferation (PCNA expression) and recovering apoptosis of aberrant colonic mucosal cells (caspase-3 activation). For this reason, FDLE administration reduced the mRNA levels of pro-inflammatory cytokines, including IL-1β, IL-6, TNF-α and inflammation-related enzymes including iNOS and COX-2 in rat colonic mucosa when compared to the rats that were only treated with DMH. Therefore, the retardation of ACF growth was related to suppression of the inflammatory process in colonic mucosal cells. In order to explore whether FDLE inhibit colorectal cancer by reducing inflammation and to evaluate the different mechanisms of FDLE on colorectal cancer in normal and inflammatory conditions, human colorectal cancer cell lines (HCT-116 and HT-29) were used for experiments in vitro. HCT116 and HT-29 were treated with a mixture of TNF-α, IFN- γ and LPS (10 ng/ml each) for 2 hours before FDLE intervention. After that, the cells were cultured in various concentrations of FDLE in DMEM. Cell proliferation was measured by the MTT and colony formation assay while cell cycle arresting and apoptosis were measured by flow cytometry. The results showed that FDLE. exhibited anti-proliferative activity in both normal growth and inflamed HCT-116 and HT-29 cells, and this anti-proliferative activity was more effective in the inflammatory condition. In normal conditions. FDLE only induced cell cycle arrest by down-regulating NF-kB, cychn D1, CDK4 but up-regulating p21 in both HCT-116 and HT-29 cells. In inflammatory conditions, the cytokines induced hyperproliferation by activating NF-kB signaling pathway. However. FDLE administration not only induced cell cycle arrest by down-regulating NF-kB, cyclin D1 and CDK4, and down-regulating p21 in both HCT- 116 and HT-29 cells, but also induced apoptosis by down-regulating NF-kB and Bcl-xl and up-regulating Bid, Bak, cleaved caspase-7 and caspase-3 in HCT-116 cells Finally, the effect of FDLE on inflammation was further determined in lipopolysaccharide (LPS)-activated RAW 264.7 macrophage cells. The results showed that treatment of FDLE after LPS induction significantly reduced the secreted cells. inflammatory cytokines including TNF-α, IL-1β and IL-6 in culture supematant. Moreover, the inhibitions of FDLE on inflammatory response in colorectal cancer cell lines induced by the mixture of cytokines were also investigated. They also demonstrated that treatment of FDLE after cytokines induction significantly reduced the mRNA level of TNF-α, IL-1, and IL-6 in HCT-116 cells, and TNF-α and IL-1 in HT-29 cells. The results indicated that FDLE also inhibited the responsibility of colorectal cancer cell lines to inflammation which might be related to the growth promotion of colorectal cancer cells In conclusion, Ficus dubia latex exhibited the preventive effect in DMH-induced rat colorectal carcinogenesis in early stage by alteration of carcinogen metabolism in liver and colon in the initiation stage. Moreover, Ficus dubia latex suppressed ACF progression by decreasing inflammation. leading to a decrease of cell proliferation and increase of apoptosis in colon mucous. Furthermore, in vitro experiments demonstrated that the extract of Ficus dubia latex exhibited anti-proliferative activity in both normal growth and inflamed colorectal cancer cell lines. This anti-proliferative activity was more effective in the inflammatory condition due to its more effective regulation of NF-kB inactivation and some proteins related to cell cycle progression and apoptosis induction. Therefore, the phytochemicals in latex of Ficus dubia could potentially be used for prevention and treatment of colorectal cancer, especially in inflammation-induced hyperproliferation progression. The applications of Ficus dubia latex might be in the form of instant drink or functional tea because the extract of Ficus dubia latex could be solubilized in water and might be well absorbed in human gut.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectFicus dubiaen_US
dc.subjectFicus dubia latex extracten_US
dc.titleChemopreventive effects of Ficus dubia Latex extract on initiation of colorectal carcinogenesisen_US
dc.title.alternativeผลทางเคมีป้องกันของสารสกัดยางไทรเลือดต่อการเริ่มต้นการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshIntestine, Large -- Cancer-
thailis.controlvocab.lcshAnus -- Cancer-
thailis.controlvocab.lcshPlant extracts-
thailis.controlvocab.lcshLatex-
thailis.controlvocab.lcshCancer -- Chemotherapy-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractในการศึกษานี้ได้ศึกษาผลของสารสกัดยางไทรเลือด (FDLE) ต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ในหนูขาวและ กลไกระดับโมเลกุลโดยใช้ไดเมทิลไฮตราชิน (DMH) ในการเหนี่ยวนำการเกิดรอยโรคเริ่มต้นมะเร็งลำไส้ ใหญ่ (ACF) ของหนูขาวในระยะเริ่มต้น เริ่มต้นหนูถูกเลี้ยงด้วย FDLE 100 และ 500มก./กก.น้ำหนักตัว อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ 1 สัปดาห์ก่อนการฉีด DMH (40 มก./กก.ของน้ำหนักตัว สัปดาห์ละครั้งเป็นเวลา2 สัปดาห์) จนกระทั่งสิ้นสุดการทดลอง ผลการวิจัยพบการให้ FDLE ในขนาด 500 มก./กก.น้ำหนักตัว ช่วย ลดจำนวน ACE อย่างมีนัยสำคัญ (การยับยั้ง 37.3%) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ให้ DMH เพียงอย่างเดียว หนู กลุ่มที่ได้รับ FDLE พบการยับยั้งเอนไซม์ตับเฟส 1 ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการลดเอนไซม์เฟส 2 ได้แก่กลูตา ไธโอนเอสทรานสฟอเรส (GST) และ ยูดีพีกลูคูโรนิลทรานส์เฟอเรส (UDPGT) การยับยั้งไซม์เหล่านี้ทำ ให้เกิดการลดลงของระดับ O6-methylguanine ในตับของหนูและลดการปล่อยเมทิลเอซอกซีเมทานอล-กลูดู โรไนด์ (MAM-glucuronide) ไปยังลำไส้เล็กส่วนส่วนต้น นอกจากนี้ FDLE ยังลดการทำงานของเอนไซม์เบด้ากลู ดูโรนิเดส (β-glucuronidase)ของแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่หนู ซึ่งนำไปสู่การลดการสร้าง MAM อิสระที่แอค ทิฟและการจับกับดีเอ็นเอในลำไส้ ส่งผลไปลดการเกิด ACF ในลำไส้ใหญ่ของหนูระยะเริ่มต้นได้ การศึกษาในระยะหลังการเริ่มต้นหนูให้ถูกถูกฉีดด้วย DMH สัปดาห์ละครั้งเป็นเวลา 2 สัปดาห์เพื่อ กระตุ้นการสร้าง ACF ก่อน หลังจาก 2 สัปดาห์ของการฉีด DMH ครั้งที่สอง หนูจะเริ่มได้รับ FDLE ใน ขนาด 100 และ 500 มก./กก.น้ำหนักตัว และป้อนต่อไปเป็นเวลา 4 สัปดาห์ จนกระทั่งสิ้นสุดการทดลองเพื่อ ดูผลต่อการเกิดการเติบโตของ ACF ผลการศึกษาพบว่าการให้ FDLE ปริมาณ 100 และ 500 มก./กก. น้ำหนัก ตัว สามารถลดจำนวน ACF อย่างมีนัยสำคัญ (การยับยั้ง 32,5% และ 48.0% ตามลำดับ) และค่าเฉลี่ยของ ขนาด ACF (ac/f) อย่างมีนัยสำคัญ (% การยับยั้ง16.7% และ 18.4%ตามลำดับ) เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ ได้รับ DMH เพียงอย่างเดียวผลเหล่านี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลง การเพิ่มจำนวนเซลล์เยื่อบุลำไส้ผิดปกติ (ดู จากการแสดงออกของ PCNA) และการกระตุ้นการตาย ของเซลล์เยื่อบุลำไส้ผิดปกติ (การกระตุ้นแคสเปส-3) และพบว่า การให้ FDLE สามารถลดระดับ mRNA ของไซโตไคน์ที่ทำให้เกิดการอักเสบได้ ซึ่งได้แก่ IL-1β, IL-6, TNF-α และเอ็นไซม์ที่เกี่ยวข้อง กับการอักเสบ ได้แก่ iNOS และ COX-2 ในเยื่อบุลำไส้ของหนูเมื่อ เปรีอบเทียบกับการได้รับ DMH เพียงอย่างเดียว ดังนั้นการชะลอการเจริญเติบโตของ ACF จึงสัมพันธ์กับ การลดกระบวนการ อักเสบในเซลล์เยื่อเมือกของลำไส้ใหญ่ จากนั้นจึงศึกษาต่อว่า FDLE สามารถยับยั้งการเจริญของเชลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยการไปลดการ อักเสบโดยมิกลไกอย่างไร เซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักของมนุษย์ (HCT-116และ HI-29) ถูก กระตุ้นโดยสารผสมของ TNF-α, IFN- γ และ LPS (10ng/ml แต่ละตัว) เป็นเวลา2 ชั่วโมง ต่อเนื่องโดยการ เลี้ยงในอาหารเลี้ยงเซลล์ (DMEM) ที่มีความเข้มข้นต่างๆ ของ FDLE จากนั้นจึงวัดการเพิ่มจำนวนด้วย MIT และการก่อรูปโคโลนี ร่วมกับการประเมินวัฏจักร และการตายของเซลล์โดยโฟลว์ไซโตเมทรี ผลการศึกษา พบว่า FDLE แสดงฤทธิ์ด้านการเพิ่มจำนวน ทั้งในเซลล์ HCT-116 และ HT-29ที่ปกติและเซลล์ ที่อยู่ใน สภาวะอักเสบ และการด้านนี้มีประสิทธิภาพ ดีกว่าในสภาวะที่มีการอักเสบมากกว่าในสภาวะปกติ โดย พบว่า FDLE สามารถหยุดวงจรของเซลล์ โดยการลดการกระต้น NF-KB การแสงออกของ cyclinD1, CDK4 ร่วมกับการเพิ่มการแสดงออกของp21 ในเชลล์ HCT-116และ HT-29 ซึ่งในสภาวะที่มีการอักเสบไซ โตไตน์ทำให้เพิ่มการแบ่งเซลล์ โดยการส่งสัญญาณของ NF-KB แต่เมื่อได้รับ FDLE นั้นไม่เพียงแต่ทำให้ หยุดวงจรของเซลล์ โดยการไปควบคุม NF-KB cyclinD1 CDK4 และ ลดการแสดงออกของ p21 ในทั้ง HCT- 116 และ HT-29 เชลล์ แต่ยังกระคุ้นการตายของเซลล์โดยลดการแสดงออกของ Bcl-xl แต่เพิ่มการแสดงออกของ Bid Bak HCT-116 ในเซลล์ อีกด้วย ในส่วนสุดท้ายเป็นการศึกษาผลของ FDLE ต่อการอักเสบในเซลล์มาโครฟาจ RAW 264.7 ที่ถูก กระตุ้นด้วยไลโปโพลีแซคคาไรด์ (LPS) ผลการศึกษาพบว่าการให้ FDLE หลังจากการชักนำโดย LPS จะ ช่วยลดการหลั่งไซโตไคน์ TNF- α,IL-1β และ IL-6 ในน้ำเลี้ยงอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ ยังได้ศึกษาการ ยับยั้ง FDLE ต่อการตอบสนองต่อการอักเสบในเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่และ ทวารหนักที่เกิดจากส่วนผสม ของไซโตไคน์ แสดงให้เห็นว่าการได้รับ FDLE หลังจากการเหนี่ยวนำ ไซโดไคน์จะลดระดับ mRNA ของ TNF-α,IL-1 และ IL-6 ในเซลล์ HCT-116และ TNF- α และ IL-1 ในเซลล์ HT-29อย่างมีนัยสำคัญ ผลการวิจัยพบว่า FDLEสามารถยังยับยั้งการตอบสนอง ของเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ต่อการอักเสบซึ่งอาจ เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเจริญโตของเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ โดยสรุป ยางไทรเลือดมีผลในการป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่ของหนูที่เกิดจาก DMH ในระยะเริ่มแรก โดยการเปลี่ยนแปลงการเมแทบอลิซึมสารก่อมะเร็งในดับและลำไส้ใหญ่ในระยะเริ่มต้น นอกจากนี้ ยางไทร เลือด ยังยับยั้งการลุกลามของ ACF โดยลดการอักเสบ ส่งผลให้จำนวนเซลล์ ลดลงและเพิ่มการดายของเซลล์ ในเยื่อบุผิวลำไส้ใหญ่ นอกจากนี้ การทดลองในหลอดทดลอง แสดงให้เห็นว่าสารสกัดจากน้ำยางไทรเลือด มีฤทธิ์ด้านการเจริญทั้งในสภาวะปกติและสภาวะอักเสบ ฤทธิ์ด้านการเจริญนี้จะเห็นประสิทธิภาพมากขึ้น ในสภาพการอักเสบเนื่องจากขึ้นในการยับยั้ง NF-KB และการควบคุมโปรตินบางชนิดที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินของวัฏจักรเซลล์และการเหนี่ยวนำให้เกิดการตายของเซลล์ ดังนั้นสารเคมีป้องกันในน้ำยางไทรเลือด จึงสามารถพัฒนาเพื่อใช้ในการป้องกัน และรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ โดยการประยุกต์ใช้ยางไทรเลือดนี้อาจ อยู่ในรูปแบบของ เครื่องดื่มสำเร็จรูปหรือชาที่มีประโยชน์ เนื่องจากสารสกัดจากน้ำยาง Ficus dubia สามารถละลาย ในน้ำและอาจดูดซึมได้ดีในลำไส้ของมนุษย์en_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620755804-RENTONG HU.pdf8.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.