Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดนัย ลิขิตรัตน์เจริญ-
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ หน่อปันปวนen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T09:18:16Z-
dc.date.available2024-07-28T09:18:16Z-
dc.date.issued2567-05-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79910-
dc.description.abstractThe objective of this study is to examine the relationship between financial distress risk and the stock return of listed companies in the Stock Exchange of Thailand. The financial distress risk is proxied by O-score probability. The study was conducted from July 2009 to June 2019 for a total of 120 months, using company financial data, the monthly closing prices of stocks, Stock Exchange of Thailand index data, and a risk-free rate using 1-month Treasury bills. The study is divided into two sections, as follows: Firstly, portfolio classifications study the relationship between financial distress risk and the return of portfolios. The results of the study showed that the highest financial distress risk portfolio had the highest standard deviation but had the lowest returns compared to other groups and is a small market capitalization company. The returns between the highest and lowest financial distress risk portfolios found that the difference in returns of both groups was not statistically significant, but if the study was separated by conditions, the market situation would produce different results. When adding value factors to be classified into sub-portfolios for the study of the ability to represent the financial distress risk, it was found that value factors as a determinant cannot represent the financial distress risk. This was due to the returns between the highest and lowest financial distress risk portfolios. There was no difference in all subgroups defined by the value factor. It was found that the highest financial distress risk and low book-to-market portfolio (LO4) had significantly lower returns than the other groups, and this was why the highest financial distress risk had the lowest returns. An evaluation of each portfolio's performance using the Fama French Three-Factor Model comprised the final section. It was found that the three-factor model was unable to fully explain the abnormal returns of the studied portfolios, particularly in the portfolio with the highest financial distress risk, which had a negative alpha. This indicates that the investment return on the stocks with the highest risk of financial distress was less than the expected return. This reflected the low performance of such securities and did not compensate investors for the risks.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินกับอัตราผลตอบแทนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRelationship between financial distress risk and stock return of listed companies in The Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
thailis.controlvocab.thashบริษัทมหาชน-
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์ -- อัตราผลตอบแทน-
thailis.controlvocab.thashอัตราผลตอบแทน-
thailis.controlvocab.thashการเงิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินและอัตราผลตอบแทนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ความน่าจะเป็นของO-score เป็นตัวแทนของความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงิน ทำการศึกษาอัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ.2009 จนถึงเดือนมิถุนายน ค.ศ.2019 รวมทั้งสิ้น 120เดือน โดยใช้ข้อมูลทางการเงินของบริษัท ราคาปิดย้อนหลังรายเดือน ข้อมูลดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่ปราศจากความเสี่ยง โดยใช้ตั๋วเงินคลังอายุ 1 เดือน ซึ่งการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ในส่วนแรกเป็นการจัดกลุ่มหลักทรัพย์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะกลุ่มหลักทรัพย์กับอัตราผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์ ผลการศึกษาพบว่าลักษณะกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินสูง มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่สูงตาม แต่มีอัตราผลตอบแทนที่ต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่นๆ และเป็นบริษัทที่มีมูลค่าตามตลาดเป็นบริษัทขนาดเล็ก จากนั้นได้ทำการเปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนระหว่างกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินสูงกับกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินต่ำ พบว่าส่วนต่างของอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยรายเดือนของทั้ง2กลุ่มไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่หากแยกศึกษาตามสภาวะตลาดจะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันไป ถัดมาเพิ่มปัจจัยด้านมูลค่าในการแบ่งกลุ่มหลักทรัพย์เป็นกลุ่มย่อยเพื่อศึกษาความสามารถในการเป็นตัวแทนของความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินของปัจจัยเสี่ยงมูลค่า พบว่าปัจจัยเสี่ยงด้านมูลค่าที่ใช้ค่า B/M เป็นตัวกำหนดไม่สามารถเป็นตัวแทนของความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินได้ เนื่องจากอัตราผลตอบแทนที่ได้จากกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินสูงกับกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่ำ ไม่แตกต่างกันในทุกกลุ่มย่อยที่ถูกกำหนดตามค่าB/M และพบว่ากลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินสูงและมีค่า B/Mต่ำ(LO4) ให้อัตราผลตอบแทนที่ต่ำกว่ากลุ่มหลักทรัพย์อื่นอย่างชัดเจน และเป็นสาเหตุที่ทำให้กลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินสูงมีอัตราผลตอบแทนที่ต่ำกว่ากลุ่มอื่นๆ ส่วนที่สองเป็นการประเมินประสิทธิภาพกลุ่มหลักทรัพย์ตามแบบจำลองราคาหลักทรัพย์ Fama French Three-Factor Model พบว่าแบบจำลองราคาหลักทรัพย์3ปัจจัย ยังไม่สามารถอธิบายอัตราผลตอบแทนส่วนเกินปกติของกลุ่มหลักทรัพย์ที่ศึกษาได้ทั้งหมด โดยเฉพาะกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงต่อการประสบปัญหาทางการเงินสูง ซึ่งมีอัตราผลตอบแทนส่วนเกินปกติหรือค่าอัลฟ่าเป็นค่าลบหมายถึง อัตราผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนในกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง มีค่าต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ สะท้อนถึงประสิทธิภาพของกลุ่มหลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในระดับที่ต่ำ และไม่มีส่วนชดเชยความเสี่ยงให้แก่นักลงทุนen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532148-ศิริลักษณ์ หน่อปันปวน.pdf16.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.