Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79879
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.advisorMukdawan Sakboon-
dc.contributor.authorHawng Tsaien_US
dc.date.accessioned2024-07-24T17:52:56Z-
dc.date.available2024-07-24T17:52:56Z-
dc.date.issued2024-05-14-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79879-
dc.description.abstractIndigenous students in Myanmar are failing in the state’s hegemonic mainstream education system, which causes a high dropout rate, a lack of quality education, and a language barrier that is alarming for the future of the Indigenous community. The ethnic education system parallel to the State education system has existed in Myanmar for more than six decades to provide contextualised needs response education to ethnic children since the 1950s. However, they are either a hybrid system that uses the state’s curriculum and ethnic languages as a medium of language or a bi-lingual provision. Indigenous education is a new unlocking concept among ethnic education stakeholders. There is little research available regarding an overview of Indigenous education studies in Myanmar. Some researchers have conducted on ethnic education. The study provides the perception and meaning of Indigenous education by local actors and stakeholders that leads to a highly contested concept. This study describes the integration of Indigenous knowledge and other forms of knowledge in the curriculum and its daily school practices and contestation among a local community on promoting local knowledge. It also analyses motivation, initiation process and management practices despite highly disputed contexts during the establishment journey. It further investigates how local actors negotiate and co-create space for local knowledge and contextualise the education system with other education stakeholders on what issues. The study was conducted with the Kachin Indigenous education organisation called SJN-CBE in Northern Shan State and Kawng Hka village Indigenous school as a sample of a case study using qualitative research methods; ten in-depth interviews with the school founders, organisation leaders, school leaders, and teachers. Two focus-group interviews with teacher trainers and teachers as well as participant observation methods were used. The empirical data from my life experience with the local community as a teacher educator, curriculum consultant and policy advocate in Indigenous education for more than a decade is also integrated into this research. The findings reveal that the perception of Indigenous education is varied and highly contested which is reflected in power relations based on social, political, cultural and historical contexts. The government authority sees Indigenous education as fuel to more conflicts and social segregation. Some local leaders, parents and community members see mother tongue-based multilingual education (MTB-MLE) and integration of local knowledge and culture that children are familiar with at home are unnecessary. The term ‘Indigenous’ is interpreted as a negative connotation such as ‘hill people’, ‘backward’, ‘primitive’, and ‘un-civilised’. Moreover, Indigenous education may prohibit opportunities for their children to become government staff and lack recognition. Despite the contestations, local education initiators find a way to convince and advocate through capacity-building workshops and meetings with the local community to explore and provide a deeper understanding of quality education, and the preservation of local knowledge, culture and language in and through education. Indigenous education initiative in Northern Shan State succeeded after a decade of community advocacy. The study finds that the establishment of a new Indigenous education system by Sam Mung Jinghpaw Nawku Hpung Church-based Education (SJN-CBE) Kachin community in Northern Shan State was motivated by visioning local children “Becoming the light of the world and creating own future, the citizens who serve, build and lead toward quality of life and peaceful society”. An analysis of local curriculum, teaching, learning, and daily school activities, including daily management processes are being integrated to examine local knowledge and other forms of knowledge integration that reflect on the vision of the organisation. The study also highlights local initiative negotiation strategies to create and produce a ‘social space, local knowledge space’ in and through self-established Indigenous education was significantly effective. I argue that although a new and contested Indigenous education/schooling among local actors further needs to be explored, it found a powerful mechanism to build a self-determined contextualised Indigenous education system with local initiative schooling that fosters peace and social harmony, quality education, preservation of local knowledge. The study aims to contribute to existing ethnic-based and community-based education in Myanmar.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectIndigenous Educationen_US
dc.subjectKachin Indigenous Educationen_US
dc.subjectLocal Knowledgeen_US
dc.subjectNegotiation in Local Knowledgeen_US
dc.subjectMother Tongue based Multilingual Educationen_US
dc.titleKachin indigenous education in Northern Shan State, Myanmaren_US
dc.title.alternativeการศึกษาของชนพื้นเมืองคะฉิ่นในรัฐฉานตอนเหนือ ประเทศเมียนมาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshKachin (Asian people)-
thailis.controlvocab.lcshEthnology -- Burma-
thailis.controlvocab.lcshEthnology -- Education-
thailis.controlvocab.lcshEducation -- Burma-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractนักเรียนชนเผ่าพื้นเมืองในเมียนมากำลังเผชิญกับการครอบงำของระบบการศึกษากระแสหลัก อันส่งผลให้เกิดอัตราการเลิกเรียนกลางคันที่สูงขึ้น สวนทางกับคุณภาพของศึกษาที่ลดต่ำลง และอุปสรรคด้านภาษาที่น่ากังวลต่ออนาคตของชุมชนของชนเผ่าพื้นเมืองจึงเกิดเป็นระบบการศึกษาของกลุ่มชาติพันธุ์ควบคู่ไปกับระบบการศึกษาของรัฐเพื่อส่งมอบความต้องการทางการศึกษาให้กับกลุ่มเยาวชนมาตั้งแต่ปี 1950 เป็นต้นมา โดยมีทั้งระบบการเรียนการสอนแบบคู่ขนานที่ใช้ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเรียนการสอนภายใต้หลักสูตรแกนกลางของภาครัฐ หรือการเรียนแบบสองภาษา ระบบการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองที่เกิดขึ้นจึงถือเป็นแนวคิดใหม่ในระบบการศึกษาของกลุ่มชาติพันธุ์ อย่างไรก็ตามงานศึกษาวิจัยด้านการศึกษาของกลุ่มชาติพันธุ์ยังคงมีไม่มากเท่าใดนัก งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาถึงความเข้าใจและการให้ความหมายของตัวแสดงท้องถิ่นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมือง โดยพยายามอธิบายถึงการผสานความรู้ของกลุ่มชนพื้นเมืองท้องถิ่นและรูปแบบความรู้อื่นในหลักสูตรการศึกษาและการวิธีปฏิบัติประจำวันในโรงเรียนและความขัดแย้งภายในชุมชนที่มีต่อการส่งเสริมความรู้ของท้องถิ่น นอกจากนั้นยังมีการวิเคราะห์ถึงแรงจูงใจ กระบวนการในช่วงตั้งต้น และวิธีการจัดการ และงานวิจัยนี้ยังตรวจสอบถึงการเจรจาต่อรองและการร่วมกันสร้างพื้นที่ให้กับความรู้ท้องถิ่นที่ และพิจารณาระบบการศึกษาภายใต้บริบทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ด้านการศึกษา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้รับการดำเนินการร่วมกับองค์กรการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองคะฉิ่นที่มีชื่อว่า SJN-CBE ในรัฐฉานเหนือ และโรงเรียนพื้นเมืองท้องถิ่น Kawng Hka โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ การสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ก่อตั้งโรงเรียน ผู้นำองค์กร ผู้นำโรงเรียน และครู จำนวนทั้งสิ้น 10 ราย การสนทนากลุ่มจำนวน 2 ครั้งร่วมกับผู้ฝึกสอนครูและครู ตลอดจนถึงการสังเกตแบบมีส่วนร่วมในพื้นที่ นอกจากนี้ ข้อมูลเชิงประจักษ์จากประสบการณ์ตรงของผู้วิจัยในฐานะของครู นักการศึกษา ที่ปรึกษาหลักสูตร และผู้สนับสนุนด้านนโยบายในการศึกษาพื้นเมืองท้องถิ่นกว่าหนึ่งทศวรรษยังได้รับการผสมผสานไว้ในงานวิจัยฉบับนี้ งานวิจัยนี้ค้นพบว่าการรับรู้เกี่ยวกับการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองนั้นมีความหลากหลายและพัวพันกับความขัดแย้งที่สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ยึดโยงกับบริบททางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การเมือง และสังคม ผู้มีอำนาจจากรัฐบาลมองการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองในฐานะเชื้อเพลิงแห่งความขัดแย้งและความแตกแยกทางสังคม ในขณะที่ผู้นำชุมชนท้องถิ่นบางราย ผู้ปกครอง และสมาชิกในชุมชน มองการศึกษาแบบสหภาษาที่มีภาษาแม่เป็นหลัก (MTB-MLE) และการผสานความรู้และวัฒธรรมที่เด็กคุ้นเคยที่บ้านนั้นว่าเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็น และคำว่า ‘ชนเผ่าพื้นเมือง’ นั้นได้รับการตีความให้มีความหมายในเชิงลบ ไม่ว่าจะเป็น ‘ชาวเขา’ ‘ล้าหลัง’ ‘โบราณ’ และ ‘ไม่เจริญ’ นอกจากนี้ การศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองอาจเป็นการปิดกั้นโอกาสของเด็กในการทำงานให้กับภาครัฐและยังไม่ได้รับการยอมรับ ถึงแม้จะเต็มไปด้วยความขัดแย้ง ผู้ริเริ่มการศึกษาในท้องถิ่นยังดิ้นรนเพื่อหาหนทางในการโน้มน้าวและสนับสนุนผ่านการสัมมนาเชิงกฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพและการประชุมกับชุมชนท้องถิ่นเพื่อค้นหาและสร้างความเข้าใจเชิงลึกที่มีต่อการศึกษาที่มีคุณภาพ การทำนุบำรุงภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม และภาษาที่มีอยู่ในและผ่านทางการศึกษา การริเริ่มการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองในรัฐฉานเหนือประสบความสำเร็จหลังได้รับการสนับสนุนจากชุมชนมากว่าทศวรรษ การศึกษายังพบว่าการก่อตั้งระบบใหม่โดย Sam Mung Jinghpaw Nawku Hpung Church-based Education (SJN-CBE) ของชุมชนคะฉิ่นในรัฐฉานเหนือได้รับแรงผลักดันจากการมองเห็นเยาวชนท้องถิ่น “เป็นแสงสว่างให้กับโลกและกำหนดอนาคตด้วยตนเอง รวมถึงการเป็นพลเมืองที่สร้างและ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีและสังคมอันสงบสุข” การวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาท้องถิ่น การสอน การเรียนรู้ และกิจกรรมประจำวันของโรงเรียน ตลอดจนถึงกระบวนการจัดการในชีวิตประจำวันกำลังได้รับการผสมผสานเพื่อตรวจสอบภูมิปัญญาท้องถิ่นและการผสมผสานความรู้ในรูปแบบอื่นที่สะท้อนให้เห็นถึงวิสัยทัศน์ขององค์กร งานศึกษาวิจัยนี้ยังขีดเส้นใต้กลยุทธ์การเจรจาต่อรองขององค์กรท้องถิ่นในการสร้าง ‘พื้นที่ทางสังคมและพื้นที่สำหรับภูมิปัญญาท้องถิ่น’ ภายใต้และผ่านทางการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองที่ก่อตั้งขึ้นมาเองว่ามีศักยภาพเป็นอย่างมาก ผู้วิจัยแย้งว่าถึงแม้การศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองที่เพิ่งเกิดใหม่และเต็มไปด้วยความขัดแย้งในบรรดาตัวแสดงท้องถิ่นนั้นยังต้องได้รับการศึกษาเพิ่มเติม แต่มีการค้นพบกลไกที่สำคัญในการสร้างระบบการศึกษาของชนเผ่าพื้นเมืองที่เหมาะสมกับบริบทกับองค์กรการศึกษาท้องถิ่นที่เสริมสร้างความสงบสุขและความสามัคคีในสังคม การศึกษาที่มีคุณภาพ ตลอดจนการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยงานศึกษาวิจัยนี้ได้มุ่งเป้าไปที่การเสริมสร้างการศึกษาที่มีพื้นฐานจากชุมชนและชาติพันธุ์ในเมียนมาen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620435814 Hawng Tsai.pdf4.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.