Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.advisorสุนทรพจน์ ดำรงค์พานิช-
dc.contributor.authorนายศิริวัฒน์ มูลวงศ์en_US
dc.date.accessioned2024-07-23T00:56:28Z-
dc.date.available2024-07-23T00:56:28Z-
dc.date.issued2567-06-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79844-
dc.description.abstractThis research aims to achieve 3 main objectives: 1) to synthesize the components and indicators of the innovation ecosystem, 2) to study effective processes and methods in managing the innovation ecosystem, and 3) to develop and verify guidelines for developing the innovation ecosystem of secondary schools. The sample consisted of 540 school administrators and teachers in secondary schools. Opinions were surveyed using a 40-item, 5-point Likert scale questionnaire on the components of a innovation ecosystem. The discrimination power ranged from 0.510 to 0.913 and the reliability was 0.976. Confirmatory factor analysis was conducted using Mplus software. Qualitative data were collected through interviews with seven experts, selected by purposive sampling. The interview guide for the development of an innovation ecosystem and validating the (draft) guidelines for developing an innovation ecosystem in secondary education institutions by seven experts selected through purposive sampling. A focus group discussion was utilized to examine the (draft) guidelines for developing the innovation ecosystem in secondary education institutions in three aspects: suitability, feasibility, and usefulness. The research findings indicate that: 1) The components and indicators of the innovation environment system consist of 6 components: (1) Innovation policy (2) Learning space (3) Personnel collaboration (4) Innovation culture (5) Budget management and (6) Infrastructure and support The congruence of the innovation environment system's component indicators has been confirmed structurally, with the variance-covariance matrix of empirical data aligning with theory. 2) Effective management processes and methods rely on promoting and supporting 5 main aspects: (1) principles, (2) objectives, (3) the process of developing the innovation ecosystem, (4) success conditions affecting the development of the innovation ecosystem, and (5) limitations/additional suggestions for developing the innovation ecosystem. 3) Guidelines for developing the innovation ecosystem of secondary schools comprise 5 main areas: (1) principles, which are to become an innovation-based institution, (2) objectives, to create an innovation ecosystem in secondary education institutions towards becoming innovation-based institutions, (3) methods/processes according to the components of the innovation ecosystem, (4) success conditions, which involve systematic development of all components using research and development processes, and (5) limitations/suggestions at both the institutional and individual levels. The overall review of the guidelines indicates a high level of suitability, feasibility, and usefulness.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectInnovation Ecosystemen_US
dc.subjectระบบนิเวศนวัตกรรมen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาen_US
dc.title.alternativeGuidelines for developing the innovation ecosystem of secondary schoolsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนมัธยมศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สังเคราะห์องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของระบบนิเวศนวัตกรรม 2) ศึกษากระบวนการและวิธีปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม และ 3) จัดทำและตรวจสอบแนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา จำนวน 540 คน สอบถามความคิดเห็นด้วยแบบสอบถาม ความคิดเห็นองค์ประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรม แบบวัดชนิดประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.510 ถึง 0.913 ค่าความเชื่อมั่น 0.976 วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ด้วยโปรแกรม Mplus และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วย การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบสัมภาษณ์ แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม และตรวจสอบ(ร่าง)แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบสนทนากลุ่มเพื่อตรวจสอบ(ร่าง)แนวทางการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ใน 3 ประเด็น ได้แก่ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของระบบนิเวศนวัตกรรม มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) นโยบายนวัตกรรม 2) พื้นที่เรียนรู้ 3) ความร่วมมือของบุคลากร 4) วัฒนธรรมนวัตกรรม 5) การบริหารงบประมาณ และ 6) โครงสร้างพื้นฐานและการสนับสนุน ผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลตัวบ่งชี้องค์ประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรมได้รับการยืนยันว่ามีความตรงเชิงโครงสร้าง โดยเมตริกซ์ความแปรปรวนของข้อมูลเชิงประจักษ์สอดคล้องกับทฤษฎี 2) กระบวนการและวิธีปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมต้องอาศัยการส่งเสริมและสนับสนุน 5 ประเด็นหลัก ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม 4) เงื่อนไขความสำเร็จที่ส่งผลต่อการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม และ 5) ข้อจำกัด/ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม 3) แนวทางการการพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมของสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ มี 1) หลักการ คือ การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม 2) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างระบบนิเวศนวัตกรรมในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาสู่การเป็นสถานศึกษาแห่งนวัตกรรม 3) กระบวนการพัฒนาตามองค์ประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรม 4) เงื่อนไขความสำเร็จ การพัฒนาทุกองค์ประกอบอย่างเป็นระบบโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา 5) ข้อจำกัด/ข้อเสนอแนะในระดับสถานศึกษา และระดับบุคล และผลการตรวจสอบแนวทางโดยภาพรวมมีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232052-ศิริวัฒน์ มูลวงศ์.pdf6.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.