Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79841
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชัย วิสุทธิศักดิ์-
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ลีปรีชา-
dc.contributor.authorสิริกุล พรหมกันธาen_US
dc.date.accessioned2024-07-23T00:49:25Z-
dc.date.available2024-07-23T00:49:25Z-
dc.date.issued2567-06-14-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79841-
dc.description.abstractIndependent Study: Education Distribution Through the Policy for Creating Equality in Education: A Case Study in Papong Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province. It is a case study whereby the government of Thailand was using the “Educational Equity Policy” as the tool that the government has used to create inequality in the distribution of educational resources between schools that are urban based and Particularly, it aims at the quality of education adopted by children in the rural schools. In this qualitative study, the context involved the Papong Sub-district, Doi Saket District, Chiang Mai Province. The study aims at giving an analysis of how the Education Equity Policy can be made effective in eradicating inequality with practical suggestions. This work utilizes a qualitative method of data collection through interviews. The Sample includes individuals who have completed fundamental education from Ban Pa Pong School, or Ban Pa Mai Daeng School, or nearby areas, as well as personnel from two schools in the Pa Pong Sub-district: As for the two case study schools, Ban Pa Mai Daeng School – a medium-sized and Ban Pa Pong School – a small public school. The study results from the interviews found that the main factors contributing to educational inequality 1) Economic capital and social capital factors, and 2) Economic conditions, Environmental conditions, and Social conditions while being in the education system. These findings are based on interviews with a sample group of 20 people. The categories of economic capital and social capital can be categorized as: 1) Families with a good middle-class: These families live comfortably with few economic problems and have a good ability to support their children's education. 2) Families with a lower middle-class status: These families live adequately but face economic problems and have less ability to support their children's education compared to families in the first category. 3) Families living with poverty problems: These families are relatively poor, often working as daily wage laborers, and have a low ability to support their children's education. Among the sample population, families of type 2 are the most common, followed by type 3 and then type 1. Economic readiness is a crucial factor that causes children to drop out of the education system.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาen_US
dc.subjectคุณภาพของการศึกษาen_US
dc.subjectความยากจนen_US
dc.subjectสถานะทางสังคมen_US
dc.subjectการจัดการศึกษาen_US
dc.titleการกระจายการศึกษาผ่านนโยบายการสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา: กรณีศึกษาชุมชน ตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDistributing education through policies of creating equality in education and reducing disparities in education: a case study in Papong Sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashความเสมอภาคทางการศึกษา -- ดอยสะเก็ด (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashสิทธิในการศึกษา -- ดอยสะเก็ด (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา -- ดอยสะเก็ด (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashความจน -- ดอยสะเก็ด (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่อง “การกระจายการศึกษาผ่านนโยบายการสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาและการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา: กรณีศึกษาชุมชน ตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงการจัดการศึกษาของรัฐผ่าน “นโยบายสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษา” (2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่สร้างความเหลื่อมล้ำในการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพของเด็ก ในโรงเรียนเขตชนบทกรณีศึกษา ชุมชนตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ (3) เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงนโยบายการจัดการศึกษาของรัฐ ในการสร้างความเท่าเทียมในพื้นที่กรณีศึกษา ชุมชนตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มประชากร ที่จบการศึกษาระดับขั้นพื้นฐานจากโรงเรียนบ้านป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด หรือพื้นที่ใกล้เคียง และบุคลากรของโรงเรียนในพื้นที่ตำบลป่าป้อง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 2 โรงเรียน ผลการศึกษาประเด็นสัมภาษณ์พบว่าปัจจัยหลักที่มีส่วนทำให้การศึกษาเกิดความเหลื่อมล้ำ ได้แก่ 1) ปัจจัยทุนทางเศรษฐกิจและทุนทางสังคม 2) ปัจจัยสภาพเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อม และสภาพสังคมในขณะที่กำลังอยู่ในระบบการศึกษา โดยสัมภาษณ์จากกลุ่มประชากรตัวอย่างจำนวน 20 คน โดยจำแนกลักษณะทุนทางเศรษฐกิจและทุนทางสังคมได้ ดังนี้ 1) ครอบครัวที่มาฐานะปานกลางค่อนดี มีลักษณะแบบพออยู่พอกิน มีปัญหาทางเศรษฐกิจน้อย มีความสามารถในการสนับสนุนการศึกษาให้แก่บุตรหลานในระดับดี 2) ครอบครัวที่มีฐานะปานกลางค่อนต่ำ ที่มีลักษณะพออยู่พอกิน แต่มีปัญหาทางเศรษฐกิจ มีความพร้อมในการสนับสนุนการศึกษาของบุตรหลานในระดับที่น้อยกว่าครอบครัวลักษณะที่ 1 3) ครอบครัวแบบหาเช้ากินค่ำ ค่อนข้างยากจน มีลักษณะทางเศรษฐกิจค่อนข้างยากจน ทำงานรับจ้างรายวัน มีความพร้อมในการสนับสนุนการศึกษาของบุตรหลานต่ำ จากกลุ่มประชากรตัวอย่างมีครอบครัวลักษณะที่ 2 มากที่สุด ลักษณะที่ 3 และลักษณะที่ 1 ตามลำดับ โดยความพร้อมทางเศรษฐกิจเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เด็กหลุดออกจากระบบการศึกษาen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620432005 สิริกุล พรหมกันธา.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.