Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ทองท้วม-
dc.contributor.authorสมัคร สุทธิผุยen_US
dc.date.accessioned2024-07-21T04:27:16Z-
dc.date.available2024-07-21T04:27:16Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79838-
dc.description.abstractThe Ministry of Energy, Thailand, has issued a ministerial regulation defining, the type or size of buildings and standards, criteria and procedures for building design for energy conservation (2020), announcement of the Ministry of Energy on the determination of Building Design Standards for Energy Conservation(2021), announcement of the Ministry of Energy on criteria for calculation and certification of results and assessment in building design for energy conservation of each system. The objective of the study was relationship of solar heat factors to curtain wall design factors in accordance with the energy conservation Law and to create guidelines for architects to use in choosing the type and style of curtain wall, for exterior façade design for energy saving and cost-effective. In this study, we used simulation research to collect data from interviews with architects who have experience in designing of high-rise office buildings in the Bangkok area. Three companies and one glass wall design and installation company used the data to model the base case building and then modeled alternative buildings by using different types of glass. To design and control budgets by set budgeting for building envelope a cost completion formula (Real Engineer CMU, 2016) by referring to the appraisal price base, the construction of buildings in 2020-2023, by the valuation-broker foundation of Thailand. The calculation of reference no.25 for office buildings 21-35 floors in 2021, using the price of construction materials as showed the maximum construction cost level, was 35,300 baht per square meter. Then, the construction cost structure of the project was determined from the total project value of 100%, consisting of 60% of the total construction cost, 20% tax, and other marketing expenses such as interest on loans, as well as 20% net profit, based on the total construction cost of 60%, combined with the initial profit of 40%. In order to inform the decision to purchase the land and set the budget for the construction part (approximately 60% of the project value) and the budget portion of the building envelope system (approximately 15% of the building construction value or 9% of the project value). Once the architect has framed the project budget, the guidelines for selecting the specification and model of curtain wall are used then consider the tool which take various values from glass manufacturers into account for OTTV values with the BEC simulation as follows : Solar Heat Gain Coefficient (SHGC), Visible Light Transmission (VT) Heat energy transferred through glass on an area of 1 square meter at a temperature difference of 1 degree Celsius (U-Value) when obtaining glass that considers OTTV value through the BEC WEB BASE program, if the price of both mirrors is high, the budget is within the specified range of about 9% of the project value, the selling price is competitive and the conservation glass will have energy conservation values according to the criteria set by law, after the above steps are completed, the architect sends the information to façade consultants to provide recommendations and definitions of the system that will be used to assemble an appropriate wall system according to technical parameters.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางกระจกและกรอบอลูมิเนียมในอาคารสูงประเภทอาคารสำนักงาน เพื่อการอนุรักษ์พลังงานและคุ้มค่าในการลงทุนสำหรับสถาปนิกen_US
dc.title.alternativeDesign method of curtain wall guidelines in office high rise building for energy conservation and considering investment value for architecten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการออกแบบสถาปัตยกรรม-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การอนุรักษ์พลังงาน-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การออกแบบ -- แง่สิ่งแวดล้อม-
thailis.controlvocab.thashกระจกเงาในสถาปัตยกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจากการที่ประเทศไทย โดยกระทรวงพลังงานได้ออกกฎกระทรวงกำหนดประเภทหรือขนาดของอาคารและมาตรฐานหลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2563 ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่องกำหนดค่ามาตรฐานการออกแบบอาคารเพื่อการอนุุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2564 ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่องหลักเกณฑ์วิธีการคำนวณและการรับรองผล และการตรวจประเมินในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานแต่ละระบบ การใช้พลังงาน โดยรวมของอาคาร และการใช้พลังงานหมุนเวียนในระบบต่างๆของอาคาร พ.ศ. 2564 โดยวัตถุประสงค์การศึกษาเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยความร้อนจากรังสีอาทิตย์ ต่อปัจจัยการออกแบบผนังกระจกบานสูง(Curtain Wall) ตามเงื่อนไขของกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน และเพื่อสร้างแนวทางให้สถาปนิกใช้ในการเลือกชนิดและรูปแบบของกระจกบานสูง(Curtain Wall) สำหรับการออกแบบเปลือกอาคารภายนอก เพื่อการประหยัดพลังงานและคุ้มค่าในการลงทุน การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงจำลองสถานการณ์จริง ( Simulation Research ) โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์สถาปนิกผู้มีประสบการณ์ในการออกแบบอาคารสูงประเภทอาคารสำนักงานในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 3 บริษัท และข้อมูลจากการสัมภาษณ์บริษัทออกแบบและติดตั้งผนังกระจกจำนวน 1 บริษัท เพื่อนำข้อมูลดังกล่าวมาสร้างแบบจำลองอาคารต้นแบบ ( Base Case Building ) จากนั้นจึงทำการสร้างแบบจำลองอาคารทางเลือก ที่ใช้กระจกประเภทต่างๆ พบว่ากระจกสำหรับอาคารต้นแบบที่มีค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์อนุรักษ์พลังงานที่กฎหมายกำหนด โดย ผลจากการวิจัยทำให้ได้แนวทางในการเลือกกระจกบานสูง(Curtain Wall) เพื่อออกแบบและควบคุมงบประมาณ เริ่มต้น ตั้งงบประมาณของงานส่วนเปลือกอาคารด้วยสูตรสำเร็จการกำหนดต้นทุน(Real Engineer CMU, 2016) โดยอ้างอิงฐานราคาประเมินค่าก่อสร้างอาคารปี พ.ศ. 2563-2566 โดยมูลนิธิประเมินค่า-นายหน้าแห่งประเทศไทย โดยตัวอย่างการคำนวณอ้างอิงข้อ 25 ประเภทอาคารธุรกิจ 21-35 ชั้น ปี พ.ศ. 2564 ใช้ราคาวัสดุก่อสร้าง ณ เดือนมีนาคม พบว่า ระดับราคาค่าก่อสร้างสูงสุด 35,300 บาท/ตารางเมตร จากนั้นทำการกำหนดโครงสร้างต้นทุนค่าก่อสร้างโครงการ จากมูลค่าโครงการรวม 100% ประกอบด้วย ต้นทุนค่าก่อสร้างรวม 60%, ภาษีมูลค่าเพิ่ม 20% และค่าใช้จ่ายการตลาดอื่นๆ เช่นดอกเบี้ยเงินกู้ รวมถึงกำไรสุทธิอีก 20% โดยอ้างอิงจากต้นทุนค่าก่อสร้างรวม 60% รวมกับกำไรเบื้องต้น 40% เพื่อตั้งราคาขายที่เป็นไปได้ ซึ่งเจ้าของโครงการนำข้อมูลดังกล่าว พิจารณาเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันในโครงการลักษณะเดียวกัน ในทำเลเดียวกัน และเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจซื้อที่ดิน และกำหนดงบประมาณให้กับส่วนงานก่อสร้าง(ประมาณ60%ของมูลค่าโครงการ) และส่วนงบประมาณของระบบเปลือกอาคาร(ประมาณ 15%ของมูลค่าก่อสร้างอาคาร หรือ 9% ของมูลค่าโครงการ) เมื่อสถาปนิกได้กรอบงบประมาณโครงการแล้วจึงนำแนวทางการเลือกชนิดและประเภทของกระจกบานสูง(Curtain Wall) มาพิจารณา โดยใช้แนวทางเลือกรูปแบบกระจกบานสูง ซึ่งเป็นการนำค่าคุณสมบัติต่างๆของกระจก จากผู้ผลิตกระจกมาพิจารณาค่า OTTV ด้วยโปรกรม BEC โดยค่าที่นำมาใช้พิจารณาได้แก่ ค่าความหนากระจก(T) ค่าสัมประสิทธิ์การส่งผ่านความร้อนจากรังสีอาทิตย์ (Solar Heat Gain Coefficient, SHGC) ค่าการส่งผ่านของแสงธรรมชาติ (Visible Light Transmission, VT) ค่าพลังงานความร้อนถ่ายเทผ่านกระจกบนพื้นที่ 1 ตารางเมตร โดยเมื่อได้กระจกที่พิจารณาค่า OTTV ผ่านตามเกณฑ์ของโปรแกรม BEC WEB BASE หากราคากระจกบานสูง(Curtain Wall) ดังกล่าวมีงบประมาณอยู่ในกรอบที่กำหนดไว้ประมาณ 9% ของมูลค่าโครงการและราคาขายเป็นระดับราคาที่แข่งขันได้ จึงถือได้ว่ากระจกที่สถาปนิกเลือกคุ้มค่าและเหมาะสมen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621731008_สมัคร สุทธิผุย.pdf27.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.