Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79836
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กาญจนา โชคถาวร | - |
dc.contributor.advisor | พรชัย วิสุทธิศักดิ์ | - |
dc.contributor.author | ธัชนนท์ ภู่ทิม | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-21T04:16:11Z | - |
dc.date.available | 2024-07-21T04:16:11Z | - |
dc.date.issued | 2024-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79836 | - |
dc.description.abstract | This study aims to study guidelines for developing tourism potential. Ecological area around Phu Din Reservoir, Phu Din Community, Mae Hor Phra Subdistrict, Mae Taeng District, Chiang Mai Province The researcher chose to use qualitative research methods by collecting data from a sample of 300 people and in-depth interviews with community leaders. Reservoir Committee Sri Lanna National Park Officials A total of 20 samples were selected, consisting of 4 Sri Lanna National Park officials, 2 Ban Phu Din community leaders, 4 Huai Phu Din Reservoir committee members, and a group of tourist attraction development officials. Maejo University, 10 cases, with a method for selecting a specific sample size (Purposive Sampling). The results of the study found that Analysis of types of ecotourism attractions, hiking trails, Huai Phu Din Reservoir - Mae Ngat Sombun Chon Dam. The area of Sri Lanna National Park was found to be classified as a natural tourist attraction according to the principles of ROS and the Evaluation of Nature-based Tourism Site Potential (ENTSP) found that the Huai Phu Din Reservoir - Mae Ngat Sombun Dam route. lakes Sri Lanna National Park Area By considering only ecotourism destinations. It is divided into 4 areas according to the indicators of eco-tourism destinations as follows: 1) Resource’s aspect: found to have an average score of 2.31 with medium potential. There is an abundance of natural tourist attractions. 2) Facilities management, services, and communication were found to have an average score of 1.9 with moderate potential. This is because it is a survey to open a study path to assess suitability. Therefore, there are still no facilities or supervision from officials as much as they should be. 3) In the area of environmental impact management, it was found that the average score was 1.78, with potential at a moderate level. 4) In the area of community participation, it was found that there was an average score of 2.55 with high potential because people in the community and officials agreed to survey the route and are ready to make it a tourist route for the benefit of the community and the park. From the study of factors affecting the success of ecotourism. The results of the study found that Level of opinion on factors affecting the success of ecotourism destinations Overall, opinions regarding potential were at a high level, with an average of 3.92. When considering each aspect, it was found that the potential of ecotourism destinations with the highest level of opinion was area potential, with an average of 4.31, followed by the potential for Participation, average of 4.23, management, average of 3.78, and activities and processes, average 3.39, respectively, and study of guidelines for developing the potential of ecotourism in the Phudin Reservoir area. By taking the results of evaluating the situation from the external environment from the results of brainstorming according to the SWOT Analysis technique, analyzing the environment in terms of strengths, weaknesses, opportunities, and obstacles to analyze MATRIX in each area, it was found that 1) proactive strategy (S+O) is tourism development, such as the development of ecotourism routes to study nature. Huai Phu Din Reservoir - Mae Ngat Somboon Chon Dam route from the analysis it was found that the nature of the route is a natural type of recreation. There is quite an abundance of plants. It can be developed into a tourist attraction2) Corrective strategy (W+O) is the development and restoration of tourist attractions to ensure sustainability, such as Planning for route improvements and developing tourist attractions by improving the landscape around the reservoir. 3) Preventative strategy (S+T) involves joining forces with government agencies and various agencies. Organize training to enhance knowledge and understanding for people in the community. To develop the community's potential and 4) Reactive strategy (W+T) to create a clear community development plan. To control and resolve the crisis situation to return to normal as quickly as possible. This includes methods to alleviate and revive the situation. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณอ่างเก็บน้ำภูดิน ชุมชนภูดิน ตำบลแม่หอพระ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Potential development guidelines of ecotourism in Phu Din Reservoir, Phu Din Community, Mae Hor Phra Sub-district, Mae Taeng District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวโดยชุมชน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณอ่างเก็บน้ำภูดิน ชุมชนภูดิน ตำบลแม่หอพระ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง 300 รายและวิธีสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้นำชุมชน คณะกรรมการอ่างเก็บน้ำ เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีลานนา โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างไว้ทั้งหมด 20 ราย ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีลานนา 4 ราย ผู้นำชุมชนบ้านภูดิน 2 ราย คณะกรรมการอ่างเก็บน้ำห้วยภูดิน 4 ราย และคณะเจ้าหน้าที่พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 10 ราย ซึ่งมีวิธีการเลือกกำหนดขนาดตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผลการศึกษาพบว่า การวิเคราะห์ประเภทแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเส้นทางเดินป่าอ่างเก็บน้ำห้วยภูดิน - เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล พื้นที่อุทยานแห่งชาติศรีลานนา พบว่า จัดอยู่ในประเภทของแหล่งท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติตามหลักการของ ROS และการประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว (Evaluation of Nature- based Tourism Site Potential : ENTSP) พบว่า เส้นทางอ่างเก็บน้ำห้วยภูดิน - เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล พื้นที่อุทยานแห่งชาติศรีลานนา โดยทำการพิจารณาเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ตามตัวชี้วัดของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ดังนี้ 1) ด้านทรัพยากร พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.31 มีศักยภาพอยู่ในระดับปานกลาง มีความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ 2) ด้านการจัดการสิ่งอำนวยความสะดวก บริการ และการสื่อความหมาย พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 1.9 มีศักยภาพอยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากเป็นการสำรวจเพื่อเปิดเส้นทางศึกษาเพื่อประเมินความเหมาะสม เลยยังไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกหรือการดูแลจากเจ้าหน้าที่มากเท่าที่ควร 3) ด้านการจัดการผลกระทบสิ่งแวดล้อม พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 1.78 มีศักยภาพอยู่ในระดับปานกลาง 4) ด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน พบว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.55 มีศักยภาพอยู่ในระดับสูง เนื่องจากคนในชุมชนและเจ้าหน้าที่ต่างเห็นด้วยในการที่จะจัดทำการสำรวจเส้นทางและพร้อมที่จะทำให้เกิดเป็นเส้นทางท่องเที่ยวขึ้นมาเพื่อที่จะประโยชน์ระหว่างชุมชนและอุทยาน จากการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ผลการศึกษาพบว่า ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ในภาพรวมมีความคิดเห็นเกี่ยวกับศักยภาพอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.92 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด คือ ศักยภาพด้านพื้นที่ ค่าเฉลี่ย 4.31 รองลงมา ได้แก่ ศักยภาพด้านการมีส่วนร่วม ค่าเฉลี่ย 4.23 ด้านการจัดการ ค่าเฉลี่ย 3.78 และด้านกิจกรรมและกระบวนการ ค่าเฉลี่ย 3.39 ตามลำดับ และการศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงนิเวศบริเวณอ่างเก็บน้ำภูดิน โดยการนำผลการประเมินสถานการณ์จากสภาพแวดล้อมจากภายนอกจากผลการระดมความคิดตามกระบวนการเทคนิค SWOT Analysis วิเคราะห์สภาพแวดล้อมในประเด็นจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคมาวิเคราะห์ MATRIX ในแต่ละด้าน พบว่า 1) ยุทธศาสตร์เชิงรุก (S+O) คือ การพัฒนาการท่องเที่ยว เช่น การพัฒนาของเส้นทางท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อศึกษาธรรมชาติ เส้นทางอ่างเก็บน้ำห้วยภูดิน - เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล จากการวิเคราะห์พบว่า ลักษณะเส้นทางเป็นแหล่งนันทนาการประเภทธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ไม้ค่อนข้างมาก สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ 2) ยุทธศาสตร์เชิงแก้ไข (W+O) คือ การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน เช่น การวางแผนปรับปรุงเส้นทาง และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบอ่างเก็บน้ำ 3) ยุทธศาสตร์เชิงป้องกัน (S+T) มีการร่วมกลุ่มกับหน่วยงานภาครัฐและและหน่วยงานต่างๆ เพื่อจัดอบรเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับคนในชุมชน เพื่อพัฒนาให้ชุมชนมีศักยภาพที่แข็งแรงขึ้น และ 4) ยุทธศาสตร์เชิงรับ (W+T) จัดทำแผนพัฒนาของชุมชนให้มีความชัดเจน เพื่อควบคุมและแก้ไขสถานการณ์วิกฤติให้อยู่ในสภาวะปกติได้โดยเร็วที่สุด ซึ่งรวมไปถึงวิธีการบรรเทาและฟื้นฟูสถานการณ์ได้ | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620432002-ธัชนนท์ ภู่ทิม.pdf | 4.38 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.