Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79830
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิตชล ผลารักษ์-
dc.contributor.advisorสุทธาธร ไชยเรืองศรี-
dc.contributor.authorอัจฉรา สิทธิตันen_US
dc.date.accessioned2024-07-20T03:21:28Z-
dc.date.available2024-07-20T03:21:28Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79830-
dc.description.abstractWater is an important factor in consumption. High consumption of water may cause water shortage. Water resource management is important to achieve a balance with nature and a fair distribution of water to all sectors. The elephant camp is one of the businesses that have both direct and indirect water usages. The consumption of the elephant camp may affect the water resources and the ecosystems surrounding the elephant camp. The objective of this research is to assess balance of water resources and water footprints from elephant camp activities in Chiang Mai Province. Data were collected from 4 elephant camps in Mae Taeng and Mae Wang Districts, including Mae Taeng, Mae Tamhan, Mae Phin and Phu Tawan elephant camp, respectively in November 2020 to April 2021. The elephant camps water map, water budget and total water consumption from elephant camp activities were calculated for the water balance. The results showed that the water balance analysis in every elephant camp had enough water budget for water demand of the elephant camps However, the water footprints analysis showed that most of the elephant camps still lack effective waste management. In contrast, Mae Taeng elephant camp has enough water resources waste management according to environmental standards. The elephant camps should be efficient water and waste management and environmentally friendly for tourism and sustainable useen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินสมดุลน้ำและรอยเท้าน้ำ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของปางช้าง ในอำเภอแม่แตง และอำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2564en_US
dc.title.alternativeWater balance and water footprint assessment for water resource management of Elephant Camps in Mae Taeng and Mae Wang District Chiang Mai Province in 2021en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการจัดการน้ำ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการเก็บกักน้ำ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashช้าง -- การเลี้ยง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractน้ำเป็นปัจจัยหลักที่สำคัญในการอุปโภคและบริโภค การใช้น้ำที่มากเกินจำเป็นอาจส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้ำ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำจึงมีความสำคัญเพื่อให้เกิดความสมดุลต่อธรรมชาติและเป็นธรรมกับทุกภาคส่วน ปางช้างเป็นกิจการหนึ่งที่มีการใช้ประโยชน์จากน้ำทั้งทางตรงและทางอ้อม กิจกรรมดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำที่มีอยู่และต่อระบบนิเวศรอบ ๆ พื้นที่ปางช้าง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมดุลน้ำและรอยเท้าน้ำจากกิจกรรมของปางช้างในจังหวัดเชียงใหม่ โดยเก็บข้อมูลจากปางช้างในพื้นที่อำเภอแม่วางและอำเภอแม่แตง อำเภอละ 2 ปางช้าง ได้แก่ ปางช้างแม่พิน ปางช้างภูตะวัน ปางช้างแม่แตง และปางช้างแม่ตะมาน ตามลำดับ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2563 ถึงเดือนเมษายน 2564 โดยการจัดทำผังน้ำในพื้นที่ปางช้าง วิเคราะห์สมดุลน้ำ คำนวณปริมาณน้ำต้นทุนและปริมาณการใช้น้ำหรือรอยเท้าน้ำทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในกิจการปางช้าง จากการวิเคราะห์สมดุลน้ำพบว่าทุกปางช้างมีปริมาณน้ำต้นทุนเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำของปางช้าง อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์รอยเท้าน้ำ พบว่าปางช้างแม่แตงมีปริมาณทรัพยากรน้ำเพียงพอต่อการจัดการของเสียเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสิ่งแวดล้อม แต่ปางช้างส่วนใหญ่ยังขาดการจัดการของเสียที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการน้ำและจัดการของเสียที่เกิดขึ้นในปางช้างได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อการท่องเที่ยวและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620531060-Atchara-Sittiton.pdf7.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.