Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณัย สายประเสริฐ-
dc.contributor.authorปาลดา ไชยชนะen_US
dc.date.accessioned2024-07-19T01:20:12Z-
dc.date.available2024-07-19T01:20:12Z-
dc.date.issued2567-06-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79816-
dc.description.abstractThis research aimed to study job embeddedness among employees of Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) Mae Moh Mine in Lampang Province, using the framework proposed by Allen and Meyer. Identified six embeddedness factors in organizational and community work, including 1) fit-organization, 2) fit-community, 3) link-organization, 4) link-community, 5) sacrifice-organization and 6) sacrifice-community. The sample group comprised 294 EGAT Mae Moh Mine employees affiliated with the Deputy Director of Mae Moh Mine Division. The data was collected through a questionnaire and subsequently analyzed using descriptive statistics for frequency, percentage and mean. According to the study, The EGAT Mae Moh Mine workforce predominantly consisted of males aged 31 to 35, primarily employed in the production division. On average, employees had 6 to 10 years of work experience and held undergraduate degrees. Most were single, residing in Lampang Province, with average monthly incomes ranging from 15,000 to 30,000 baht, excluding overtime pay. Satisfaction with fundamental welfare was highest in the following categories, ranked from highest to lowest: health, recreation, security, and economic stability. However, education satisfaction was high. Regarding the six job embeddedness factors, the respondents strongly agreed with the following factors, ranked from highest to lowest: fit-community, sacrifice-organization, fit-organization, link-organization, sacrifice-community and link-community. The respondents particularly agreed most with the sense of security derived from being part of the organization.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความฝังตรึงในงานen_US
dc.subjectการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectเหมืองแม่เมาะen_US
dc.titleความฝังตรึงในงานของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeJob embeddedness of employees at the electricity generating authority of Thailand, Mae Moh Mine, Lampang provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashความผูกพันต่อองค์การ -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashความภักดีของลูกจ้าง -- แม่เมาะ (ลำปาง)-
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าแม่เมาะ -- พนักงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความฝังตรึงในงานของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง โดยใช้แนวคิดเรื่องความฝังตรึงในงาน (Job Embeddedness) ของ Allen และ Meyer ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยความฝังตรึงในงานด้านองค์กร และด้านชุมชน 6 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านความลงตัวกับองค์กร 2) ปัจจัยด้านความลงตัวกับชุมชน 3)ปัจจัยด้านพันธะกับองค์กร 4) ปัจจัยด้านพันธะกับชุมชน 5) ปัจจัยด้านสิ่งที่ต้องสละหากลาออกจากองค์กร 6) ปัจจัยที่ต้องสละหากออกจากชุมชน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือ พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สังกัดหน่วยงานผู้ช่วยผู้ว่าการเหมืองแม่เมาะ จำนวน 294 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) ผลการศึกษาพบว่าพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เหมืองแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีช่วงอายุ 31-35 ปี สังกัดฝ่ายการผลิตเหมืองแม่เมาะ มีระยะเวลาปฏิบัติงานช่วง 6-10 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี สถานภาพโสด รายได้เฉลี่ยต่อเดือน (ไม่รวมค่าล่วงเวลา) 15,000-30,000 บาท และมีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดลำปาง ความพึงพอใจในสวัสดิการขั้นพื้นฐาน 5 ด้าน มีความพึงพอใจในสวัสดิการขั้นพื้นฐาน 5 ด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย ดังนี้ ด้านสุขภาพ ด้านนันทนาการ ด้านความมั่นคงปลอดภัย และด้านเศรษฐกิจ ตามลำดับ และพึงพอใจในระดับมากในด้านการศึกษา ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยความฝังตรึงในงาน 6 ด้าน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ย ดังนี้ ด้านความลงตัวกับชุมชน ด้านสิ่งที่ต้องเสียสละหากลาออกจากองค์กร ด้านความลงตัวกับองค์กร ด้านพันธะกับองค์กร ด้านสิ่งที่ต้องสละหากออกจากชุมชน และด้านพันธะกับชุมชน ตามลำดับ ทั้งนี้การอยู่ในองค์กรนี้ทำให้รู้สึกว่าชีวิตมีความมั่นคงเป็นปัจจัยย่อยที่ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยมากที่สุดen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532107-ปาลดา ไชยชนะ.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.