Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79750
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประสิทธิ์ ลีปรีชา | - |
dc.contributor.advisor | มุกดาวรรณ ศักดิ์บุญ | - |
dc.contributor.author | หยาง, เจียฉี | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-14T17:40:02Z | - |
dc.date.available | 2024-07-14T17:40:02Z | - |
dc.date.issued | 2567-03-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79750 | - |
dc.description.abstract | This paper aims to study the China's Outbound Policy and Development in Northern Thailand through Chinese Poverty Alleviation Center who came to Thailand to help eradicate poverty and influence the development of communities in northern Thailand. It combines data from participatory observations. The people who received the help were divided into three groups: the students group, the community students and the villagers all agreed that the concept of development and soft power were used for the analysis of this study, which mainly solved three questions: First, how is the development and work of the Thai Maritime Conference organization related to the concept and policy of the Chinese government, and what role does it play in the construction of China-Thailand relations 2. How is the role of the Thai Hui Hui Organization related to China's development concept of poverty eradication 3. What are the roles and opinions of the villagers in the ethnic communities developed by the HAI HUI Organization The study found that the expansion of China's overseas development assistance reflects the growth of investment by Chinese enterprises. This is reflected in the "exit" policy of China's Tenth Five-Year Plan (2001-2005), which contrasts sharply with the dominant approach of Western donors. Most Chinese aid comes in the form of soft loans or low-interest loans. Some of these are government-funded or subsidized infrastructure projects. This paper explores its social significance through the advocacy work of the HAI HUI Organization Poverty Alleviation Center in Thailand. Then summed up the role of the sea exchange organization in the development. It focuses on the Chinese HAI HUIPoverty Alleviation Center in Thailand also discussed why HAI HUI Organization work in Thailand is struggling to maintain good sustainability. Finally, the paper discusses the implications of NGO participation in China's future international development assistance. And the theoretical explanation of why Chinese NGOs are developing globally. This is a clear demonstration of the country's soft power. HAI HUI Poverty Alleviation Center came to Thailand to work with five Thai organizations to help communities solve problems and eradicate poverty. It is a platform to connect various Chinese resources, solve problems and change the way of life of the community | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | นโยบายการออกไปนอกประเทศของจีนกับการพัฒนาในภาคเหนือของไทย | en_US |
dc.title.alternative | China's outbound policy and development in Northern Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | องค์กรไฮฮุย | - |
thailis.controlvocab.thash | การพัฒนาชุมชน | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | - |
thailis.controlvocab.thash | องค์กรพัฒนาเอกชน | - |
thailis.controlvocab.thash | องค์การระหว่างประเทศ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นการศึกษานโยบายการออกไปนอกประเทศของจีนกับการพัฒนาในภาคเหนือของไทยโดยผ่านองค์กรพัฒนาเอกชนไฮฮุยประเทศจีนที่เข้ามาดำเนินงานพัฒนาในประเทศไทยเพื่อช่วยขจัดความยากจน ส่งผลต่อการพัฒนาชุมชนในภาคเหนือของประเทศไทย โดยได้รวบรวมข้อมูลจากการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม สัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มคนที่ได้รับการช่วยเหลือด้านการพัฒนา แบ่งเป็นสามกลุ่ม คือ 1) กลุ่มนักศึกษา 2) กลุ่มนักเรียน และ 3) ชาวบ้านในชุมชน ทั้งนี้ได้นำแนวคิดการพัฒนา และแนวคิดอำนาจละมุนมาใช้เป็นกรอบในการวิเคราะห์ ซึ่งการศึกษานี้มีคำถามหลัก 3 คำถาม คือ 1) พัฒนาการและการทำงานขององค์กรไฮฮุยในประเทศไทยสัมพันธ์กับแนวคิดและนโยบายของรัฐบาลประเทศจีนอย่างไร และมีบทบาทในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างจีน-ไทยอย่างไร 2) บทบาทการทำงานขององค์กรไฮฮุยในประเทศไทยสัมพันธ์กับแนวคิดการพัฒนาในการขจัดปัญหาความยากจนในประเทศจีนอย่างไร และ 3) ชาวบ้านในชุมชนชาติพันธุ์ที่เป็นผู้ได้รับการพัฒนาจากองค์กรไฮฮุยมีบทบาทและความคิดเห็นอย่างไร ผลการศึกษาพบว่า การขยายตัวของความช่วยเหลือด้านการพัฒนาในต่างประเทศของจีนสะท้อนให้เห็นถึงการเติบโตของการลงทุนทางธุรกิจของจีน ซึ่งสะท้อนให้เห็นในนโยบาย “ออกไป” ของแผนห้าปีที่ 10 ของจีน (พ.ศ. 2544-2548) ตรงกันข้ามกับแนวทางปฏิบัติหลักของผู้บริจาคชาวตะวันตก ความช่วยเหลือจากจีนส่วนใหญ่เป็นการให้ในรูปแบบของเงินกู้แบบผ่อนปรนหรือดอกเบี้ยต่ำ และบางส่วนเป็นโครงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับทุนสนับสนุนจากรัฐบาลหรือรัฐบาลอุดหนุน งานวิจัยนี้ จึงได้ศึกษาความสำคัญทางสังคมผ่านงานสนับสนุนขององค์กรพัฒนาเอกชนไฮฮุยที่ดำเนินการพัฒนาในประเทศไทย แล้วสรุปบทบาทขององค์กรไฮฮุยในการพัฒนา โดยเน้นที่บทบาทขององค์กรไฮฮุยของจีนในประเทศไทย นอกจากนี้ยังศึกษาว่า เหตุใดงานขององค์กรไฮฮุยในประเทศไทยจึงเป็นเรื่องยากและไม่สามารถรักษาความยั่งยืนที่ดี รวมถึงวิเคราะห์ข้อจำกัดภายในประเทศต่าง ๆ และมุ่งเน้นไปที่ ผลกระทบของกรอบสถาบัน สุดท้ายงานวิจัยนี้ มุ่งค้นหาความหมายแฝงของการมีส่วนร่วมขององค์กรพัฒนาเอกชนในความช่วยเหลือด้านการพัฒนาระหว่างประเทศของจีนในอนาคต และคำอธิบายเชิงทฤษฎีว่าทำไมองค์กรพัฒนาเอกชนของจีนที่เติบโตไปทั่วโลก เป็นการแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงอำนาจละมุนที่องค์กรไฮฮุยประเทศจีนเข้ามาประเทศไทยเพื่อช่วยแก้ปัญหาและขจัดความยากจนของชุมชนโดยทำงานแบบมีความร่วมมือกับองค์กรพัฒนาเอกชนของประเทศไทย สร้างเวทีเพื่อแลกเปลี่ยนพูดคุยและเชื่อมโยงทรัพยากรของจีนต่าง ๆ เข้าไปดำเนินแก้ปัญหาและเปลี่ยนวิถีชีวิตของชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
JIAQI YAN 620431016.pdf | วิทยานิพนธ์ JIAQI YANG | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.