Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79748
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พีรวัฒน์ ปลาเงิน | - |
dc.contributor.author | ณัฐพล นุตระ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-14T17:16:40Z | - |
dc.date.available | 2024-07-14T17:16:40Z | - |
dc.date.issued | 2567-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79748 | - |
dc.description.abstract | In historical contexts, human settlements predominantly manifested as small-scale communities. However, the evolution of societal dynamics over time has precipitated a transition towards larger urban conglomerations. Presently, numerous communities have matured into expansive urban centers. This contemporary urban proliferation phenomenon owes momentum to the convergence of technological innovations and socio-economic imperatives. Significant shifts have transpired within these settlements with this urban expansion, exemplified by the metamorphosis from rudimentary dirt tracks to modern asphalt thoroughfares and the substitution of verdant expanses with impermeable concrete surfaces. The proliferation of impervious areas diminishes the capacity for water absorption, precipitating challenges associated with accelerated surface runoff and consequent flooding events. Mitigating such challenges necessitates a strategic increase in the permeable footprint within urban landscapes. Thus, the primary objective of this research is to scrutinize the pivotal parameters essential for simulating the study area. This issue encompasses establishing steadfast metrics for quantifying soil infiltration, which is pivotal for delineating models of stormwater runoff management. Furthermore, the research endeavors to devise a comprehensive model to assess the efficacy of mitigating runoff by implementing rain gardens within select areas. The objective of this study pertains to the central stadium zone of Chiang Mai University, which is notable for its diverse spatial utilization paradigms. Employing simulation methodologies facilitated by the Storm Water Management Model (PCSWMM), a sophisticated computer program integrating geographical and hydrological data, this research aims to furnish a robust analytical framework. Crucially, the identification and calibration of model parameters are informed by an exhaustive review of pertinent literature and a meticulous assessment of the requisite specifications mandated by the PCSWMM platform. The variables under study encompass subcatchment characteristics, height data pertaining to the area, percentage slope, existing infrastructure, rainwater information, and parameters utilized in the design of the raingarden layer. Additionally, in the event of simulating the study area model, it becomes indispensable to ascertain the soil infiltration rate within the area. This research utilized a double-ring infiltrometer to assist in determining soil infiltration within the study area. The tests were conducted over a span of four months, once per month, encompassing October, November, December 2021, and February 2022. This data collection was conducted randomly for the sake of convenience. The results revealed that the data could be categorized into two distinct groups exhibiting different behaviors. Group 1 comprised the months of October and February, demonstrating an average infiltration rate of 8.00 millimeters per hour. Group 2, encompassing November and December, exhibited a notably higher average infiltration rate of 30.60 millimeters per hour. Notably, across all four months, the highest infiltration rate recorded was 7.2 millimeters per hour, while the lowest was 0.5 millimeters per hour. Upon comprehensive data collection, This research has divided the model into 2 types: Base case model and Alternative case model, which is a study area for simulating pervious areas using the principles of WSUD or LID, which has many different forms. It help reduce the amount of runoff, the simulated pervious areas will use the raingarden format in unused spaces or parking areas as appropriate. From the study, it was found that the Base case model made known the problem that occurred. It was Flooding in some subcatchments, which those areas would be simulated as an Alternative case model. And the results from the Alternative case model found that Raingarden can help reduce the area where Flooding occurs and reduce partial runoff quantity. Further experimentation, focusing on rain garden size reduction to find the appropriate size, it was found that The data has been divided into 4 groups: Group 1 has an average LID area of 8.84%, reducing total runoff (TR) by 9.38%. Group 2 has an average LID area of 20.66%, reducing TR by 20.67%. Group 3 has an average LID area of 41.85% reduced TR by 41.87% and Group 4 had an average LID area of 70.55% and reduced TR by 70.56%. Finally, it known adding a rain garden can actually reduce runoff, but the rate of reducing runoff will depend on size of the rain garden of that area. This research represents an initiative endeavor in the application of WSUD/LID principles within tangible urban settings. However, it's noteworthy that the PCSWMM program, while indispensable, may entail inherent computational limitations necessitating iterative refinement in runoff and flood value applications. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | WSUD | en_US |
dc.subject | PCSWMM | en_US |
dc.subject | อุปกรณ์วัดอัตราการซึมน้ำแบบถังกลมคู่ | en_US |
dc.subject | Runoff | en_US |
dc.subject | Flooding | en_US |
dc.title | การพัฒนาแบบจำลองจัดการน้ำฝนไหลนองในพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Stormwater runoff management modeling development in Chiang Mai University area | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | น้ำฝน -- การจัดการ | - |
thailis.controlvocab.thash | น้ำฝน -- แบบจำลอง | - |
thailis.controlvocab.thash | น้ำท่วม | - |
thailis.controlvocab.thash | การไหลซึมผ่าน | - |
thailis.controlvocab.thash | การดูดซึม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | สมัยก่อนมนุษย์เราอาศัยอยู่กันเป็นกลุ่มชนเล็ก ๆ เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนแปลงไปชุมชนนั้นเริ่มมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ จนในปัจจุบันชุมชนที่อยู่รวม ๆ กันหลาย ๆ ชุมชนจะพัฒนาเป็นชุมชนเมือง เมื่อกลายเป็นเมืองใหญ่ความทันสมัยและเทคโนโลยีที่เพิ่มมากขึ้นนั้นทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชน หนึ่งในนั้นคือ จากถนนดินกลายเป็นถนนลาดยาง จากพื้นหญ้าหน้าบ้านกลายเป็นคอนกรีต และเมื่อจำนวนพื้นที่ทึบน้ำเพิ่มมากขึ้น ทำให้มีพื้นที่ซึมน้ำน้อยลง เมื่อฝนตกลงมาบนพื้นที่ที่มีพื้นที่ซึมน้ำน้อยทำให้น้ำไปรวมตัวกันเร็วขึ้นเรียกว่า Runoff พอน้ำรวมกันมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงเกิดเป็นน้ำท่วมหรือ Flooding เพื่อเป็นการลดปัญหาที่เกิดขึ้นหนึ่งในวิธีการลดปัญหาคือการเพิ่มพื้นที่พรุนน้ำให้กับเมือง งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดตัวแปรและวิธีการศึกษาสำหรับการจำลองพื้นที่ศึกษา โดยศึกษาค่าคงที่สำหรับการคำนวณค่าการซึมได้ของดินเพื่อใช้ในการสร้างแบบจำลอง และสร้างแบบจำลองเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการลดปริมาณน้ำไหลนองจากสวนซับน้ำฝนบนพื้นที่ตัวอย่าง โดยใช้พื้นที่ศึกษาเป็นมหาวิทยาลัยเชียงใหม่โซนสนามกีฬากลางซึ่งมีรูปแบบการใช้พื้นที่ที่หลากหลาย โดยงานวิจัยนี้ได้ใช้การจำลองสถานการ (Simulation) ด้วยโปรแกรม personal computer Strom Water Management Model (PCSWMM) ที่จะใช้ข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์และข้อมูลทางด้านน้ำมาช่วยในการจำลองสถานการ ซึ่งงาวิจัยนี้ได้กำหนดตัวแปรจากการทบทวนวรรณกรรมและความต้องการของโปรแกรม PCSWMM ตัวแปรที่ศึกษาได้แก่ ขนาดของพื้นที่รับน้ำย่อย (Subcatchment area), ข้อมูลความสูงของพื้นที่, ความชันของพื้นที่ (%Slope), โครงสร้างเดิมที่มีอยู่ในพื้นที่ (Existing infrastructure), ข้อมูลน้ำฝน และตัวแปร (Parameter) ที่ใช้ในการออกแบบโครงสร้างชั้นดิน (Layer) ของสวนซับน้ำฝน (Rain garden) และถ้าหากจะจำลองโมเดลของพื้นที่ศึกษาดังกล่าวจึงจำเป็นที่จะต้องรู้ค่าการซึมได้ของดินในพื้นที่ งานวิจัยนี้ได้ใช้อุปกรณ์วัดอัตราการซึมแบบถังกลมคู่มาช่วยในการหาอัตราการซึมของดินในพื้นที่ศึกษาจะทำการทดสอบทั้งสิ้น 4 เดือน เดือนละ 1 ครั้ง ได้แก่เดือน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม 2564 และ กุมภาพันธ์ 2565 ซึ่งเป็นการเก็บข้อมูลตามความสะดวกแบบสุ่ม ผลพบว่า ข้อมูลได้ถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่มซึ่งมีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน กลุ่มที่ 1 ได้แก่เดือน ตุลาคมและกุมภาพันธ์ มีอัตราการซึมเฉลี่ยอยู่ที่ 8.00 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง และกลุ่มที่ 2 ได้แก่เดือน พฤศจิกายน และ ธันวาคม มีอัตราการซึมเฉลี่ยอยู่ที่ 30.60 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งทั้ง 4 เดือนมีอัตราการซึมสูงสุดอยู่ที่ 7.2 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง และอัตราการซึมต่ำสุดอยู่ที่ 0.5 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง เมื่อได้ตัวแปรที่ศึกษาครบแล้วถึงขั้นตอนการจำลอง งานวิจัยนี้ได้แบ่งโมเดลออกเป็น 2 แบบคือ Base case model และ Alternative case model ที่เป็นพื้นที่ศึกษาจำลองการใส่พื้นที่พรุนน้ำโดยใช้หลักการ WSUD หรือ LID ซึ่งมีมากมายหลากหลายรูปแบบ มาช่วยในการลดปริมาณ Runoff ลง โดยพื้นที่พรุนน้ำที่จำลองจะใช้รูปแบบ Rain garden ในพื้นที่ว่างที่ไม่มีการใช้งานหรือพื้นที่จอดรถตามความเหมาะสม จากการศึกษาพบว่า Base case model ทำให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นคือ เกิด Flooding ในบาง Subcatchment ซึ่งพื้นที่เหล่านั้นจะถูกจำลองเป็น Alternative case model และผลจาก Alternative case model พบว่า Rain gaden สามารถช่วยลดพื้นที่เกิด Flooding และลดปริมาณ Run off ได้บางส่วน เมื่อทดลองลดขนาดของ Rain garden ลงเพื่อหาขนาดที่เหมาะสมพบว่า ขอมูลได้ถูกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 มีพื้นที่ LID เฉลี่ยอยู่ที่ 8.84% ลดTRได้ 9.38% กลุ่มที่ 2 มีพื้นที่ LID เฉลี่ยอยู่ที่ 20.66 % ลดTRได้ 20.67 % กลุ่มที่ 3 มีพื้นที่ LID เฉลี่ยอยู่ที่ 41.85% ลดTRได้ 41.87 % และกลุ่มที่ 4 มีพื้นที่ LID เฉลี่ยอยู่ที่ 70.55 % ลดTRได้ 70.56 % ทำให้ในท้ายที่สุดแล้วทราบว่าการใส่ Rain garden สามารถลด Run off ได้จริงแต่อัตราการลด Run off จะขึ้นอยู่กับขนาดของ Rain garden ของพื้นที่นั้นๆ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยริเริ่มที่มีการนำกระบวนการ และหลักการ WSUD หรือ LID มาปรับใช้กับพื้นที่จริง งานวิจัยนี้มีเป้าประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการการทำงาน โดยอาศัยพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในการใช้จำลองสถานการณ์ โดยกระบวนการนี้จะสามารถนำไปใช้กับพื้นที่ใดก็ได้ และโปรแกรม PCSWMM มีจุดปกพร่องอยู่บางประการที่อาจทำให้การคำนวณคลาดเคลื่อนอยู่บ้าง จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมในการนำค่า Runoff และ Flooding มาใช้ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640631006-ณัฐพล นุตระ.pdf | 9.87 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.