Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สิทธิเกรียงไกร-
dc.contributor.authorซิยู วูen_US
dc.date.accessioned2024-07-14T03:49:40Z-
dc.date.available2024-07-14T03:49:40Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79739-
dc.description.abstractThe research on The Social Capital and Ethnic Relations of the Chinese Kuomintang at Doi Mae Salong aims to analyse the evolution of social networks within this community and to analyse the process of capital accumulation among its members situated in Santikhiri Village, Mae Salong District, Chiang Rai Province. Employing a conceptual framework that accentuates the facets of capital and the interconnectivity of social relationships, this research employs a mixed-method methodology comprising document analysis, focus group discussions, participant observation, and key informant interviews with resident Chinese Kuomintang individuals in Doi Mae Salong. The findings of this study shown that the Chinese Kuomintang has fostered a robust social network embedded under the Thai state, bolstered by support from Taiwan and China, thereby fostering distinct trajectories of capital accumulation across different generations of the Chinese Kuomintang. The first generation laid the groundwork for social capital, prioritising intra-group solidarity. The second generation extended their social networks externally, engaging with entities in Taiwan, Thailand, and China, thereby catalysing the conversion of social and cultural capital into economic assets. Furthermore, interactions with diverse ethnic groups facilitated the exchange of traditions and cultural practices. The third generation, through a process of socialisation, has achieved deeper integration into Thai society while becomimg more Thai. Furthermore, the research found that the Chinese Kuomintang accrued three principal forms of social capital: cultural capital, economic capital, and social capital. The first generation amassed capital primarily in the form of land and commenced agricultural endeavors. The second generation received support in education, agriculture, and tourism from organizations from Taiwan, augmenting their capital accumulation. Additionally, interactions with the Akha ethnic group facilitated the establishment of social networks and spurred tourism development, thereby facilitating the conversion of cultural capital into economic assets and fostering economic growth. For the third generation of the Kuomintang, the majority relocated to urban centers in pursuit of educational and work opportunities, enabling them to amass greater capital than would have been feasible within Mae Salong.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectก๊กมินตั๋ง; การสะสมทุน; เครือข่ายทางสังคม; แม่สลอง; หมู่บ้านสันติคีรีen_US
dc.titleทุนทางสังคมและความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ของชาวจีนก๊กมินตั๋งบนดอยแม่สลองen_US
dc.title.alternativeThe Social capital and ethnic relations of the Chinese Kuomintang at Doi Mae Salongen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashชาติพันธุ์วิทยา -- จีน-
thailis.controlvocab.thashชาวจีน -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashชาวจีน -- เครือข่ายสังคม-
thailis.controlvocab.thashทุนทางวัฒนธรรม -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashทุนทางสังคม -- เชียงราย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่อง ทุนทางสังคมและความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ของชาวจีนก๊กมินตั๋งบนดอยแม่สลองมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การสร้างเครือข่ายทางสังคมของชาวจีนก๊กมินตั๋ง และวิเคราะห์การสะสมทุนของชาวจีนก๊กมินตั๋งในหมู่บ้านสันติคีรี อ. แม่สลอง จ. เชียงราย กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย คือ ทุนและเครือข่ายความสัมพันธ์ทางสังคม การวิจัยนี้ใช้วิธีการศึกษาจากข้อมูลเอกสาร การสนทนากลุ่ม การสังเกตุการณ์แบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์ชาวจีนยูนนานก๊กมินตั๋งบนดอยแม่สลอง ผลการวิจัยพบว่า ชาวจีนก๊กมินตั๋งมีการสร้างเครือข่ายทางสังคมภายใต้รัฐไทย โดยมีความช่วยเหลือจากไต้หวันและจีน อันจะนำไปสู่การสะสมทุนของชาวจีนก๊กมินตั๋งของแต่ละรุ่นที่แตกต่างกัน โดยรุ่นที่ 1 มีการสร้างทุนทางสังคมที่เน้นความสามัคคีกันภายในกลุ่ม รุ่นที่ 2 เริ่มมีการสร้างเครือข่ายทางสังคมภายนอกทั้งไต้หวัน ไทย และจีน มีการเปลี่ยนแปลงทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมให้เป็นทุนทางเศรษฐกิจ มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ และแลกเปลี่ยนประเพณีวัฒนธรรม สำหรับรุ่นที่ 3 มีกระบวนการขัดเกลาทางสังคมทำให้บูรณาการเข้ากับสังคมไทยมากขึ้น มีความเป็นพลเมืองไทยมากขึ้น นอกจากนี้งานวิจัยนี้พบว่า ชาวจีนก๊กมินตั๋งมีการสะสมทุนทางสังคม 3 รูปแบบ คือ ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางสังคม โดยรุ่นที่ 1 มีการสะสมทุนในรูปแบบที่ดิน และเริ่มพัฒนาการเกษตร รุ่นที่ 2 มีองค์กรจากประเทศไต้หวันให้ความช่วยเหลือทำให้พัฒนาด้านการศึกษา การเกษตร และการท่องเที่ยว ส่งผลให้สะสมทุนได้มากยิ่งขึ้น และยังมีความสัมพันธ์กับชาติพันธุ์อาข่า ทำให้สามารถสร้างเครือข่ายทางสังคม และส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยว เปลี่ยนทุนทางวัฒนธรรมให้เป็นทุนทางเศรษฐกิจ และส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สำหรับก๊กมินตั๋งรุ่นที่ 3 ส่วนใหญ่มีการโยกย้ายไปยังเมืองใหญ่ เนื่องจากต้องการพัฒนาด้านการศึกษาและการทำงานที่สามารถสะสมทุนได้มากกว่าการทำงานที่แม่สลองen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620431011-SIYU WU.pdf2.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.