Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79731
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Wanna Suriyasathaporn | - |
dc.contributor.advisor | Niyada Thitaram | - |
dc.contributor.advisor | Pakkanut Bansiddhi | - |
dc.contributor.author | Nicharee Luevitoonvechakij | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-13T08:55:08Z | - |
dc.date.available | 2024-07-13T08:55:08Z | - |
dc.date.issued | 2024-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79731 | - |
dc.description.abstract | Endotracheal intubation in rabbits is always challenged due to the complexity of anatomical structures. To improve intubation success, this study determined the relation of head placement angles guided by endoscope-assisted visualized techniques on intubation success rate. Thirty-two rabbit cadavers were used in the study. Six veterinary practitioners who had no experience with rabbit intubation were randomly assigned to intubate rabbit cadavers using the guidance of either a rigid endoscope (RE) or flexible endoscope (FE) with the head placement angles with an uprising neck at 90, 100, 110, 120 and 130 degrees. The intubation completed in 90 seconds was determined to be a success. The success rates using RE and FE were 97.2% and 95.9% respectively. Means and standard error of means (SEM) of intubation times for the RE and FE guided were 53.7 ± 4.68, and 55.2 ± 4.24 seconds, respectively. Results from survival time analysis show that the 5 veterinarians had successfully intubated the rabbit within 90 seconds regardless of different types of endoscopes. Angle was the only significant factor that effect the intubation success. The head placement angle at 110 and 120 had the most success rate of intubation compared to 90 degrees angle (p≤0.05). In conclusion, for inexperienced veterinarians, the success of endotracheal intubation in rabbits, guided by endoscope-assisted visualized techniques regardless of rigid endoscope or flexible endoscope guidance, is improved when the head extension is 110 and 120 degrees. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Comparison of rabbit oropharyngeal and tracheal anatomical angle during endotracheal intubation using rigid and flexible endoscopes | en_US |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบมุมส่วนกายวิภาคของคอหอยหลังช่องปากและหลอดลมของกระต่ายขณะทำการสอดท่อช่วยหายใจด้วยกล้องส่องตรวจแบบแท่งตรงและแบบบังคับปลายได้ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Trachea -- Intubation | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Veterinarians | - |
thailis.controlvocab.thash | Rabbit -- Anatomy | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การสอดท่อช่วยหายใจในกระต่ายมีอุปสรรคเนื่องจากลักษณะทางกายภาพของกระต่าย เพื่อเป็นการเพิ่มความสำเร็จในการสอดท่อช่วยหายใจ งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการจัดท่าและมุมในการสอดท่อโดยใช้กล้องส่องตรวจเพื่อช่วยในการมองเห็นระหว่างการสอดท่อช่วยหายใจ และเพิ่มอัตราความสำเร็จของการสอดท่อช่วยหายใจ โดยใช้ซากกระต่าย 32 ตัวเป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยสัตวแพทย์ที่ไม่มีประสบการณ์ในการสอดท่อช่วยหายใจกระต่าย 6 คน ทำการสอดท่อในซากกระต่ายโดยทำการสุ่มชนิดกล้องส่องตรวจ 2 ชนิด คือ กล้องส่องตรวจแบบแท่งตรง และแบบบังคับปลายได้ เพื่อเป็นตัวนำก่อนทำการสอดท่อช่วยหายใจ ในมุมการยืดคอที่ 90,100,110,120 และ 130 องศา ภายในเวลา 90 วินาทีจะถูกนับเป็นการสอดท่อได้สำเร็จ จากการศึกษาพบว่า อัตราความสำเร็จของการสอดท่อช่วยหายใจด้วยกล้องส่องตรวจแบบแท่งตรง และแบบบังคับปลาย คิดเป็นร้อยละ 97.2 และ 95.9 ตามลำดับ ค่าเฉลี่ย และค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของเวลาที่ใช้ในการสอดท่อด้วยกล้องแบบแท่งตรงและแบบบังคับปลายได้ คือ 53.7 ±4.68 และ 55.2±4.24 ตามลำดับ ผลจากการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า สัตวแพทย์ 5 คนสามารถสอดท่อช่วยใจได้สำเร็จภายในระยะเวลา 90 วินาทีไม่ว่าจะใช้กล้องใดก็ตาม โดยมุมที่ใช้การสอดท่อเป็นปัจจัยเดียวที่มีความแตกต่างทางสถิติ โดยมุมที่ 110 และ 120 องศามีอัตราความสำเร็จในการสอดท่อช่วยหายใจมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับมุม 90 องศา (p≤0.05) จึงสรุปได้ว่าในกลุ่มสัตวแพทย์ที่ไม่มีประสบการณ์ การใช้เครื่องมือกล้องส่องตรวจไม่ว่าจะชนิดใดในการช่วยในการสอดท่อช่วยหายใจ จะประสบความสำเร็จเมื่อทำการใช้มุมยืดคอกระต่ายที่มุม 110 และ 120 องศา | en_US |
Appears in Collections: | VET: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621435905 NICHAREE LUEVITOONVECHAKIJ.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.