Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuparit Tangparitkul-
dc.contributor.authorChetsada Tapanyaen_US
dc.date.accessioned2024-07-11T11:48:43Z-
dc.date.available2024-07-11T11:48:43Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79702-
dc.description.abstractExploiting unconventional petroleum is needed in this era and thus more enhancement has been introduced including chemical additives to manipulate the fluid flow characteristics, although most of the examinations were at laboratory scale the scaling-up to reservoir applicability is in question and needs further studies. The current study examined laboratory-derived relative permeability (k_r) and capillary pressure (p_c) at various wettability and the oil-water interfacial tension on reservoir-scale numerical simulation, utilizing a huff-n-puff technique, aiming to emphasize suitability and limitations of those k_r toward field implementation of tight reservoir. Simulations of primary oil production agreed with those of experiment, confirming the model validity. Following secondary of 6-cycle huff-n-puff process also yielded the same trend of oil production performances – dictated by the k_r as primary fluid flow characteristics. Four influencing factors of reservoir properties and producing design were further investigated for their sensitivity to the oil production performances. At various k_r investigated in the current study, porosity factor was distinctively found a limited suitability to low values if high oil production is anticipated, owing to the nature of tight reservoir pe se. On the contrary, reservoir permeability likely not has much influence since more oil was produced with higher value of permeability, albeit no sensitivity at much higher values. The shut-in period for the huff-n-puff process was not sensitive to the oil production of all fluids. Interestingly, the critical water saturation where water phase starts to flow (k_rw> 0) has a strong influence on the oil production in two approaches, either demoting the oil production or having no contribution, depending on the k_rw-S_w character. The results of the study offer guidelines for utilizing the data in designing field applications. Although the data were obtained from laboratory testing, it is essential to consider relative permeability in the design of improved oil recovery methods for field-scale applications. This consideration is crucial because each relative permeability has specific suitability and limitations that must be accounted for to ensure effective implementation in the field.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSimulation of chemical enhanced oil recovery using huff-and-puff techniqueen_US
dc.title.alternativeการจำลองการเพิ่มผลผลิตน้ำมันด้วยสารเคมีโดยใช้เทคนิคฮัฟและพัฟen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMining engineering-
thailis.controlvocab.lcshMines and mineral resources-
thailis.controlvocab.lcshPetroleum-
thailis.controlvocab.lcshChemicals-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการผลิตน้ำมันจากแหล่งปิโตรเลียมที่ไม่ปกติเป็นสิ่งจำเป็นในยุคนี้และด้วยเหตุนี้จึงได้มีการพัฒนาและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตน้ำมันเพิ่มขึ้น รวมไปถึงการพัฒนาการใช้สารเคมีเข้ามาช่วยควบคุมลักษณะการไหลของของไหล โดยข้อมูลส่วนใหญ่ของการทดลองจะอยู่เพียงแค่ในระดับห้องปฏิบัติการซึ่งยังเป็นปัญหาไม่สามารถอธิบายในระดับภาคสนาม จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการขยายขนาด ดังนั้นการศึกษานี้ได้มุ่งตรวจสอบความซึมผ่านสัมพัทธ์ (k_r) และความดันแคปิลลารี (p_c) ที่ได้จากห้องปฏิบัติการในสภาวะความสามารถในการเปียกต่าง ๆ และความสามารถในการตึงผิวระหว่างน้ำมันกับน้ำในการจำลองเชิงตัวเลขในระดับแหล่งกักเก็บ โดยใช้เทคนิคฮัฟและพัฟ เพื่อเน้นความเหมาะสมและข้อจำกัดของความซึมผ่านสัมพัทธ์เหล่านั้นในการนำไปปรับใช้กับแหล่งกักเก็บที่มีความหนาแน่นสูง การจำลองการผลิตน้ำมันในขั้นปฐมภูมิสอดคล้องกับการทดลองในห้องปฏิบัติการของเรา ทำให้สามารถยืนยันความถูกต้องของแบบจำลองที่สร้างขึ้น อีกทั้งในขั้นทุติยภูมิในการจำลองการผลิตน้ำมันโดยใช้กระบวนการฮัฟและพัฟ ทั้งหมด 6 รอบก็ให้แนวโน้มการผลิตน้ำมันเช่นเดียวกันกับขั้นปฐมภูมิ ซึ่งการจำลองการผลิตน้ำมันจะถูกกำหนดโดยลักษณะการไหลของของไหลคือ ความซึมผ่านสัมพัทธ์ และยังได้มีการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตน้ำมันและพบว่ามีทั้งหมด 4 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อคุณสมบัติของแหล่งกักเก็บและการออกแบบการผลิตน้ำมันเพื่อตรวจสอบความไวต่อการผลิตน้ำมันจากการศึกษาการใช้ความซึมผ่านสัมพัทธ์ ในแต่ละกรณีพบว่าค่าความพรุนที่มีความเหมาะสมและข้อจำกัดของความพรุนจะต้องมีค่าต่ำเพราะจะสามารถผลิตน้ำมันได้สูงและโดยปกติแล้วแหล่งกักเก็บที่หนาแน่นมักจะมีความหนาแน่นสูงหรือความพรุนต่ำ ๆ ในทางตรงกันข้ามค่าความซึมผ่านของแหล่งกักเก็บไม่ได้มีผลกระทบมากนักเนื่องจากน้ำมันถูกผลิตมากขึ้นเมื่อมีค่าความซึมผ่านเพิ่มสูงขึ้น ถึงแม้ว่าจะไม่มีความไวในช่วงของค่าความซึมผ่านที่สูงมากก็ตาม ส่วนช่วงเวลาปิดหลุมในกระบวนการฮัฟและพัฟไม่มีความไวหรือไม่มีผลกระทบต่อการผลิตน้ำมันของของเหลวทั้งหมด และเป็นที่น่าสนใจอย่างมากของความอิ่มตัวของน้ำที่จุดวิกฤติซึ่งเริ่มมีการไหลของน้ำ (k_rw> 0) ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างมากต่อการผลิตน้ำมัน โดยสามารถแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ อาจจะส่งผลต่อการลดการผลิตของน้ำมันหรือไม่มีอิทธิพลต่อการผลิตน้ำมัน ซึ่งจะขึ้นอยู่กับลักษณะของ k_rw-S_w ดังนั้นผลการศึกษานี้จะให้แนวทางในการนำไปปรับใช้ข้อมูลในการออกแบบการประยุกต์ใช้งานในภาคสนาม แม้ว่าข้อมูลจะได้มาจากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ แต่การพิจารณาความสามารถในการซึมผ่านสัมพัทธ์ก็ยังเป็นสิ่งจำเป็นในการออกแบบวิธีการปรับปรุงการผลิตน้ำมันในระดับภาคสนาม ซึ่งมีความสำคัญเนื่องจากแต่ละค่าความซึมผ่านสัมพัทธ์มีความเหมาะสมและข้อจำกัดเฉพาะที่ต้องคำนึงถึงเพื่อให้มั่นใจในการประยุกต์ใช้ที่มีประสิทธิภาพในภาคสนามen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650635902-CHETSADA-TAPANYA.pdfSIMULATION OF CHEMICAL ENHANCED OIL RECOVERY USING HUFF-AND-PUFF TECHNIQUE593.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.