Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79700
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิชัย เปรมฤดีปรีชาชาญ-
dc.contributor.authorอุทัย คำไทยen_US
dc.date.accessioned2024-07-11T11:33:17Z-
dc.date.available2024-07-11T11:33:17Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79700-
dc.description.abstractThis research studies fault diagnosis of the governor control system for Sirikit Hydropower. The existing governor control system at Sirikit Hydropower is designed as a standalone system. It communicates with other systems, such as the distributed control system (DCS), protection system, and excitation system, through hardwiring. This system does not include a troubleshooting guide or a troubleshooting monitor. Some abnormal events generate group alarms that cause the operator and maintenance team to spend more time on problem-solving. This paper investigates real-time root cause analysis of the governor control system for Sirikit Hydropower. Implementing real-time root cause analysis can improve the performance of the operator and maintenance team, especially in emergency and ready-to-start events. The main focus of this research is real-time root cause analysis of the governor control system for Sirikit Hydropower. This approach can enhance the performance of the operator and maintenance team, particularly during emergency and ready-to-start events. Root cause analysis requires real-time data from the DCS via the Internet of Things (IoT) in the application program interface (API) data, as well as accumulated knowledge of the power plant. This knowledge is gathered from equipment manuals, electrical and mechanical drawings, test reports, corrective maintenance reports, historical events, and the expertise of the maintenance and operation team to diagnose alarms and emergency situations. The root cause analysis is then developed using the fault tree analysis (FTA) method. Finally, all data will be prepared for logic flow analysis and graphical user interface design using the Node-RED program and dashboard, presented in a troubleshooting guide format to assist in decision-making and resolving emergency problems more effectively. According to testing results, when the governor pressure tank level was too low, leading to a lockout 86-2 operation, it took about 4 hours and 21 minutes to correct the problem. With the aid of real-time root cause analysis of the governor control system, the operator crew was able to correct this problem in less than 2 hours and 24 minutes, saving approximately 100,000 THB.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์รากของปัญหาตามเวลาจริงของระบบควบคุมกังหันน้ำสำหรับโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนสิริกิติ์en_US
dc.title.alternativeReal-time root cause analysis of governor control system for Sirikit Hydropoweren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเขื่อนสิริกิติ์-
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าพลังน้ำ-
thailis.controlvocab.thashกังหันน้ำ-
thailis.controlvocab.thashเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังน้ำ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้ศึกษาการแก้ไขปัญหาระบบควบคุมกังหันน้ำ (Governor Control System) ของโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนสิริกิติ์ ซึ่งในปัจจุบันระบบควบคุมกังหันน้ำ ถูกออกแบบให้ทำงานระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว (Standalone System) และการสื่อสารไปยังอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ระบบควบคุมกระบวนการ (Distributed Control System, DCS), ระบบป้องกัน (Protection System) และระบบควบคุมการกระตุ้นสนามแม่เหล็ก (Excitation System) ด้วยสายสัญญาณไฟฟ้าเท่านั้น (Hard Wiring) อีกทั้งยังไม่มีระบบแนะนำการแก้ไขปัญหา (Troubleshooting Guide) และบางสัญญาณแจ้งเตือนมากันเป็นกลุ่ม ทำให้พนักงานเดินเครื่องและบำรุงรักษาใช้เวลาในการแก้ไขปัญหามากขึ้น โดยงานวิจัยนี้จะเน้นศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์รากของปัญหาตามเวลาจริงของระบบควบคุมกังหันน้ำสำหรับโรงไฟฟ้าเขื่อนสิริกิติ์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของผู้ปฏิบัติงานด้านเดินเครื่องและด้านบำรุงรักษา ในการแก้ไขปัญหาในกรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Case) และการตรวจสอบความพร้อมของระบบควบคุมกังหันน้ำก่อนการเริ่มเดินเครื่อง การวิเคราะห์หารากของปัญหาต้องใช้ข้อมูลแบบเรียลไทม์ของระบบควบคุมการเดินเครื่อง โดยใช้หลักการของอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things, IoT) ในการเชื่อมต่อข้อมูลแบบการเชื่อมต่อโปรแกรมประยุกต์ (Application Program Interface, API) และฐานข้อมูลความรู้ของโรงไฟฟ้า ประกอบไปด้วยเอกสารคู่มือของอุปกรณ์, แบบทางไฟฟ้าและเครื่องกล, ผลการทดสอบเครื่อง, รายงานการแก้ไขเหตุการณ์, ประวัติการเกิดเหตุการณ์ และประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาจากพนักงานเดินเครื่องและบำรุงรักษา หลังจากนั้นทำการพัฒนาวิเคราะห์รากของปัญหาโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความผิดพลาดด้วยแผนภูมิต้นไม้ (Fault Tree Analysis, FTA) สุดท้ายนี้ข้อมูลทั้งหมดจะถูกจัดเตรียมสำหรับการตรรกะศาสตร์ (Logic Flow Analysis) และการออกแบบหน้าจอแสดงผลแบบออนไลน์สำหรับผู้ใช้งาน (Graphical User Interface) โดยโปรแกรม Node-red พร้อมจัดทำหน้าจอแสดงผล (Dashboard) แนวทางการแก้ไขปัญหา เพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาเหตุการณ์ฉุกเฉินได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ดังผลการทดสอบในกรณีเหตุการณ์ระดับน้ำมันของถังแรงดันในระบบควบคุมกังหันน้ำ(Governor Pressure Tank) มีระดับต่ำมาก ส่งผลทำให้เกิดระบบป้องกันทางเครื่องกล (Lockout 86-2) ทำงาน โดยที่เหตุการณ์ดังกล่าวใช้เวลาในการแก้ไขปัญหา 4 ชั่วโมง 21 นาที ซึ่งหากใช้ระบบการวิเคราะห์รากของปัญหาตามเวลาจริงของระบบควบคุมกังหันน้ำสำหรับโรงไฟฟ้าเขื่อนสิริกิติ์ จะใช้เวลาในการแก้ไขปัญหาลดลง 2 ชั่วโมง 24 นาที ซึ่งสามารถลดความสูญเสียจากการหยุดเครื่องได้ 100,000 บาทen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631136-อุทัย คำไทย.pdf16.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.