Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79656
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารเมศ วิระสันติ-
dc.contributor.authorปวาริศ บุญทกูลen_US
dc.date.accessioned2024-07-08T01:25:30Z-
dc.date.available2024-07-08T01:25:30Z-
dc.date.issued2567-04-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79656-
dc.description.abstractNetwork congestion is the main problem in the distribution system. It is necessary to study dynamic tariff methods to curtail network congestion problems. Through the use of dynamic tariffs, regulatory prices have the potential to be either positive (tariff) or negative (subsidy). To address these challenges, stakeholders have implemented different types of tariffs, making iterative adjustments in pricing and/or engaging in contractual arrangements driven by incentives. However, dynamic tariffs cannot handle a large number of distribution energy resources. Here we show this research to determine the dynamic tariff using two calculation methods (line constraint and baseline load). The adaptive dynamic tariff factor has been used to adjust the price of electricity via real data recorded from a five-feeder distribution network. The results demonstrated that the line constraint method providing an incentive for consumers to change their schedule and reduce the congestion problem. Additionally, it is compatible with both residential and industrial case studies, except for holiday industrial models and commercial models.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectค่าธรรมเนียมแบบพลวัต ปัญหาความแออัดในโครงข่าย ผู้รวบรวมโหลดen_US
dc.titleการหาค่าธรรมเนียมแบบพลวัตด้วยวิธีการของผู้รวบรวมโหลดสำหรับระบบจำหน่ายen_US
dc.title.alternativeDynamic tariff based on aggregator operation for distribution networken_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashค่าไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashพลังงานไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashพลศาสตร์ไฟฟ้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความแออัดในระบบจำหน่ายเป็นปัญหาหลักในระบบจำหน่ายไฟฟ้าในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาวิธีการเก็บค่าธรรมเนียมแบบพลวัตเพื่อบรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ ด้วยวิธีการเก็บค่าธรรมเนียมแบบพลวัตนี้ ทำให้ราคาค่าพลังงานไฟฟ้านั้นมีค่าที่เปลี่ยนแปลงไปจากราคาปกติ มีค่าเพิ่มขึ้น (ภาษี) หรือลดลง (เงินอุดหนุน) เพื่อเผชิญกับความท้าทายเหล่านี้ ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ได้มีการบังคับใช้ภาษีด้วยวิธีการหลายๆ วิธี โดยทำการปรับราคาซ้ำๆ และหรือมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนราคาไว้ใช้จูงใจผู้บริโภค แต่ทว่าค่าธรรมเนียมแบบพลวัตนั้นไม่สามารถควบคุมแหล่งจ่ายพลังงานในระบบไฟฟ้าที่มีเป็นจำนวนมากๆ ได้ ในวิทยานิพนธ์นี้จะแสดงวิธีการคำนวณหาค่าธรรมเนียมแบบพลวัตด้วยวิธีการ 2 วิธี (วิธีการข้อจำกัดสายส่งและวิธีการค่าพลังงานไฟฟ้าพื้นฐาน) ตัวแปรค่าธรรมเนียมแบบปรับค่าได้จึงได้ถูกนำมาใช้เพื่อปรับราคาค่าพลังงานไฟฟ้าผ่านข้อมูลที่จำลองด้วยวงจรระบบจำหน่ายไฟฟ้าแบบ 5 ฟีดเดอร์ ผลการวิจัยพบว่าวิธีข้อจำกัดสายส่งนั้นได้สร้างแรงจูงใจให้ผู้บริโภคเปลี่ยนตารางการใช้พลังงานไฟฟ้าและลดปัญหาความแออัดที่เกิดขึ้นในระบบจำหน่าย และเข้ากันได้กับกรณีศึกษาแบบที่อยู่อาศัยและแบบอุตสาหกรรม ยกเว้น แบบอุตสาหกรรมที่เป็นวันหยุด และแบบการค้าen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650631081-pawarit boontagool.pdf3.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.