Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฏิเวธ วุฒิสารวัฒนา-
dc.contributor.advisorแมนสรวง วงศ์อภัย-
dc.contributor.authorเอกวิชญ์ ใจดีen_US
dc.date.accessioned2024-07-06T10:54:03Z-
dc.date.available2024-07-06T10:54:03Z-
dc.date.issued2024-03-13-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79633-
dc.description.abstractOral images play an important role in oral diagnosis and treatment planning. Currently, many studies have used oral images to analyze oral diseases using artificial intelligence technology. However, the oral image component includes many tissues and elements that may not be important for diagnosis, such as a patient's shirt, the doctor's fingers or equipment that appears in the image, and other patient organs outside the mouth such as the nose, eyes, etc. Consequently, the oral lesion analysis results generated by the artificial intelligent system may be inaccurate and inefficient. In this research, we defined 4 research objectives: (1) Developing deep learning models for segmenting oral tissues into 8 elements (tissues). (2) Locating the oral tissue in oral images to narrow the area for consideration. (3) Testing the hypothesis if the oral cropping algorithm has an effect on the efficiency of oral tissue segmentation. (4) Testing the hypothesis if the image resizing may affect the oral tissue segmentation performance. The results indicate that each model in this study effectively segmented oral tissues, accurately found oral tissues in the oral images, and precisely perform the oral cropping, achieving the Sensitivity, Specificity, and F1-score performance of over 94%, 97%, and 94%, respectively. We believe that this study has laid an essential foundation for future research and development of artificial intelligence systems for diagnosing diseases in oral images.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectวิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการเรียนรู้เชิงลึกen_US
dc.subjectทันตกรรมen_US
dc.subjectการแบ่งส่วนอวัยวะในภาพถ่ายช่องปากen_US
dc.subjectภาพถ่ายช่องปากen_US
dc.titleอัลกอริทึมการแบ่งส่วนอย่างครอบคลุมสำหรับภาพถ่ายช่องปากen_US
dc.title.alternativeComprehensive segmentation algorithms for oral imagesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashอัลกอริทึม-
thailis.controlvocab.thashคอมพิวเตอร์อัลกอริทึม-
thailis.controlvocab.thashการแยกข้อมูลภาพ-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้เชิงลึก (การเรียนรู้ของเครื่อง)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาพถ่ายช่องปากมีบทบาทสำคัญในการวินิจฉัยทางทันตกรรมและการวางแผนการรักษา ในปัจจุบันมีงานวิจัยจำนวนมากนำภาพถ่ายช่องปากมาใช้ในการวิเคราะห์หาโรคต่าง ๆ ด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบของภาพถ่ายช่องปากประกอบด้วยอวัยวะที่สำคัญหลายอวัยวะและองค์ประกอบในภาพจำนวนมากที่อาจไม่สำคัญต่อการวินิจฉัย เช่น เสื้อของผู้ป่วย นิ้วมือหรืออุปกรณ์ของแพทย์ที่ปรากฏอยู่ในภาพถ่าย อวัยวะอื่น ๆ ที่อยู่นอกช่องปาก เช่น จมูก ดวงตา เป็นต้น ทำให้การวิเคราะห์รอยโรคในช่องปากของระบบปัญญาประดิษฐ์อาจมีความผิดพลาดและมีประสิทธิภาพที่ด้อยลงได้ ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ตั้งประเด็นการศึกษาไว้ 4 ประเด็นคือ (1) การพัฒนาโมเดลการเรียนรู้เชิงลึกสำหรับการแบ่งส่วนอวัยวะในช่องปากเพื่อแบ่งส่วนองค์ประกอบของรูปให้ได้ 8 องค์ประกอบ (อวัยวะ) (2) การค้นหาช่องปากในภาพถ่ายช่องปาก เพื่อลดพื้นที่ในการพิจารณาลง (3) ทดสอบสมมุติฐานเรื่องการครอบตัดช่องปาก ต่อประสิทธิภาพการแบ่งส่วนอวัยวะในช่องปาก (4) ทดสอบสมมุติฐานเรื่องวิธีการปรับขนาดภาพก่อนการฝึกสอนต่อประสิทธิภาพการแบ่งส่วนอวัยวะในช่องปาก ผลลัพธ์พบว่า ทุกโมเดลที่ทำการศึกษา มีประสิทธิภาพทั้งการแบ่งส่วนในอวัยวะในช่องปาก การค้นหาและครอบตัดช่องปาก ได้ประสิทธิภาพ Sensitivity Specificity และ F1-score ไม่ต่ำกว่า 94 97 และ 94 เปอร์เซ็นต์ (ตามลำดับ) ผู้วิจัยเชื่อว่างานวิจัยนี้ได้วางรากฐานสำคัญต่อการศึกษาและพัฒนาระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อการวินิจฉัยโรคในภาพถ่ายช่องปากต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640631106_Ekawit Jaidee.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.