Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79622
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรถวิทย์ อุปโยคิน | - |
dc.contributor.author | ศุภณัฐ เสนชุ่ม | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-05T09:41:50Z | - |
dc.date.available | 2024-07-05T09:41:50Z | - |
dc.date.issued | 2024-05-20 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79622 | - |
dc.description.abstract | The University Vanpool Services Project is a transportation service mode that universities should provide to facilitate students and staffs who commute to educational institutions. The shared van service should be clean, convenient, cost-effective, and sustainable. This study analyzed the factors influencing to use vanpool services and developed a Structural Equation Model (SEM) using attitude and behavior data collected through questionnaires from a sample of 399 students and staffs of Chiang Mai Rajabhat University who commute between the university's campuses in Muang and Mae Rim District. The analysis included descriptive statistics, Exploratory Factor Analysis (EFA), and Structural Equation Modeling (SEM) to identify the factors influencing the use of shared vans. The SEM structure is connected to the Theory of Reasoned Action (TRA), the Theory of Planned Behavior (TPB), and the Model of Goal-Directed Behavior (MGB). The analysis results identified ten components. In additions the key factors influencing the use of the university's vanpool service, which lead the sample group to engage in rational thinking processes, include three main factors: the service factor (SERV) with an influence weight of 0.364, the collective benefit factor (BEN) with an influence weight of 0.421, and the normative influence factor (NORM) with an influence weight of 0.421. These three factors positively influence the desire to perform the behavior (DESIR), which can explain 61.6% of the behavior (BEHAV). These factors are crucial for policy development that can support rational thinking processes, leading to the intention (INT) to use vanpool services. According to the structure of the Model of Goal-Directed Behavior (MGB), rational thinking processes and the intention to use shared vans (INT) do not significantly influence behavior (BEHAV). In contrast, the difficulty in changing behavior to use shared vans (CONTR) negatively influences the service usage behavior (BEHAV), representing significant limitations and obstacles to transitioning to shared van services. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้างของปัจจัยการให้บริการและทัศนคติของผู้ใช้รถตู้ร่วมมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Analyzing of structural equation models of service and attitudes factors towards Chiang Mai Rajabhat University vanpool usage | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ -- รถตู้โดยสาร | - |
thailis.controlvocab.thash | แบบจำลองสมการโครงสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | รถตู้โดยสาร -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การให้บริการรถตู้ร่วมเป็นรูปแบบการให้บริการขนส่งที่มหาวิทยาลัยควรจัดหาเพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับการเดินทางของนักศึกษาและบุคลากรที่ต้องเดินทางไปสถานศึกษา โดยรูปแบบรถตู้ร่วมควรเป็นรูปแบบการเดินทางที่สะอาด สะดวก คุ้มค่าและมีความยั่งยืน งานศึกษานี้ได้วิเคราะห์ปัจจัยและพัฒนาแบบจำลองสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model ; SEM) โดยใช้ข้อมูลทัศนคติและพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ โดยการสำรวจด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ที่เดินทางระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ในเขตอำเภอเมืองและอำเภอแม่ริมจำนวน 399 คน และทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ปัจจัยองค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) และการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (Structural Equation Model) เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้รถตู้ร่วม โดยโครงสร้างแบบจำลอง SEM เชื่อมโยงกับทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล (TRA) ทฤษฎีรูปแบบพฤติกรรมตามแผน (TPB) ทฤษฎีรูปแบบพฤติกรรมตามหาเป้าหมาย (MGB) ผลการวิเคราะห์พบว่า สกัดองค์ประกอบทั้งสิ้น 10 องค์ประกอบ โดย ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการรถตู้ร่วมมหาวิทยาลัยที่ทำให้กลุ่มตัวอย่างเกิดกระบวนการคิดเชิงเหตุผล ในการพัฒนาแบบจำลองจากทั้งหมดสามทฤษฎี ทั้งสามปัจจัย ได้แก่ปัจจัย ปัจจัยด้านการให้บริการ (SERV) มีค่าน้ำหนักอิทธิพลอยู่ที่ 0.364 ปัจจัยด้านผลประโยชน์ต่อส่วนรวม (BEN) มีค่าน้ำหนักอิทธิพลอยู่ที่ 0.421 และปัจจัยการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (NORM) มีค่าน้ำหนักอิทธิพลอยู่ที่ 0.421 ปัจจัยทั้งสามต่างส่งอิทธิพลในทางบวกต่อความปรารถนาในการแสดงพฤติกรรม (DESIR) สามารถอธิบายพฤติกรรมได้ 61.6% ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ ต่อการพัฒนานโยบายที่สามารถสนับสนุนให้เกิดเกิดกระบวนการคิดเชิงเหตุผลนำไปสู่ความตั้งใจ (INT) ที่จะใช้บริการรถตู้ร่วมได้ จากโครงสร้างแบบจำลองพฤติกรรมตามหาเป้าหมาย (MGB) กระบวนการคิดเชิงเหตุผลและความตั้งใจในการใช้รถตู้ร่วม (INT) ไม่ได้ส่งผลต่อพฤติกรรม (BEHAV) อย่างชัดเจน ปัจจัยความยากลำบากในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปใช้รถตู้ร่วม (CONTR) ส่งอิทธิพลทางลบต่อการแสดงพฤติกรรมการใช้บริการ (BEHAV) จึงเป็นข้อจำกัดที่สำคัญที่เป็นอุปสรรคในการเปลี่ยนไปใช้การบริการรถตู้ร่วม | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640631051 ศุภณัฐ เสนชุ่ม.pdf | 4.65 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.