Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79618
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชรินทร์ มั่งคั่ง | - |
dc.contributor.advisor | ณัฐพล แจ้งอักษร | - |
dc.contributor.author | สุวสิรินทร์ สุวรรณจักร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-04T09:56:00Z | - |
dc.date.available | 2024-07-04T09:56:00Z | - |
dc.date.issued | 2024-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79618 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are 1) to study the concept of innovation in social studies learning through the positive digital footprint method. To promote digital citizenship and critical thinking among high school students. 2) To develop social studies learning innovations through the method of positive digital ecological footprint. To promote critical digital citizenship of high school students 64 people and 3) to study the results of using social studies learning innovations through the positive digital ecological footprint method to promote critical digital citizenship of high school students. end It is participatory action research (PAR). By studying and developing social studies learning innovations through the positive digital ecological footprint method to promote critical digital citizenship, then studying the level of critical digital citizenship of high school students. There is a tool used in the research. The tool used in the research is a literature review form. Evaluation of the suitability of social studies learning innovations through the positive digital ecological footprint method teaching observation form and the digital citizenship level assessment form. Qualitative data were analyzed using content analysis. Presented in descriptive form and analyzed the quantitative data with a statistical program to find the mean and standard deviation. The research results found that Innovative ideas for learning social studies through a positive digital footprint method. To promote digital citizenship and critical thinking among high school students. It is learning that focuses on giving students positive digital thinking skills and critical thinking. To support the changes in global society in the digital age and received a social study learning innovation through the positive digital ecological footprint method that promotes critical digital citizenship, called TRS-2New MODEL, for the results of using social studies learning innovation through the positive digital ecological footprint method to promote Digital Citizenship and Judgment of High School Students at the highest level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | นวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวก เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย | en_US |
dc.title.alternative | Social studies learning innovation based on positive digital ecological footprint approach to promote critical digital citizenship of high school students | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | สังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | นวัตกรรมทางการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | นักเรียน -- การศึกษาและการสอน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดนวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวก เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) เพื่อพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวก เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 64 คน และ 3) เพื่อศึกษาผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวกเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) โดยได้ศึกษาและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวกเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณ จากนั้นทำการศึกษาระดับความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทบทวนวรรณกรรม (Review Literature) แบบประเมินความเหมาะสมของนวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวก แบบสังเกตการสอน และแบบประเมินระดับความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) นำเสนอในรูปแบบพรรณนา (Descriptive Analysis) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมทางสถิติเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า แนวคิดนวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวก เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนเกิดทักษะการคิดเชิงบวกดิจิทัลวิจารณญาณ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกยุคดิจิทัลและได้นวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวกที่ส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณ เรียกว่า TRS-2New MODEL สำหรับผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาผ่านวิธีการรอยเท้าทางนิเวศดิจิทัลเชิงบวกเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัลวิจารณญาณของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย อยู่ในระดับมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232040 สุวสิรินทร์ สุวรรณจักร์.pdf | 5.1 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.