Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79617
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSiramas Komonjinda-
dc.contributor.advisorSupachai Awiphan-
dc.contributor.authorThammasorn Padjaroenen_US
dc.date.accessioned2024-07-04T09:49:23Z-
dc.date.available2024-07-04T09:49:23Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79617-
dc.description.abstractAnalysis of the chemical compositions of exoplanetary atmospheres provides valuable information about the conditions and characteristics of those atmospheres, potentially aiding the quest for signs of extraterrestrial life. So far, more than 3,000 exoplanets have been identified through the transit method. The transmission spectroscopy technique, which studies exoplanetary atmospheres during their transits, is widely used to study the atmosphere of transiting exoplanets. In this work, we study the atmospheres of 30 transiting exoplanets that are Jovian planets. We use light curves of these exoplanets observed by space-based telescopes (HST, TESS, and JWST) to analyze their transit depths and their atmospheric properties using the TransitFit package, a Python exoplanetary fitting package based on nested sampling algorithms. Our physical parameters from TransitFit are compared with those in the previous literature. Finally, TauREx 3, a fully Bayesian spectral retrieval code, analyze the transit depth per wavelength and reveal atmospheric compositions of these exoplanetary atmospheres. The interesting result from our analysis is the detection of water in the atmospheres of WASP-43 b, WASP-76 b, WASP-103 b, and HAT-P-26 b, with abundances of 0.01%, 5%, 0.02%, and 5% water, respectively.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleTransmission spectroscopy analyses of jovian planets with hubble space telescope, transiting exoplanet survey satellite, and james webb space telescope dataen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์สเปกโทรสโกปีแบบส่องผ่านของดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ด้วยข้อมูลกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ดาวเทียมสำรวจดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะแบบผ่าน และกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เวบบ์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPlanets-
thailis.controlvocab.lcshPlanets -- Spectra-
thailis.controlvocab.lcshPlanets -- Photographic measurements-
thailis.controlvocab.lcshOuter planets-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขและลักษณะของชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบ ซึ่งมีส่วนช่วยในการค้นหาสัญญาณของสิ่งมีชีวิตนอกโลกได้ โดยทั่วไปนักดาราศาสตร์ใช้วิธีวิเคราะห์สเปกตรัมส่องผ่านในการศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบที่ถูกค้นพบด้วยวิธีการผ่านหน้า ในปัจจุบันมีดาวเคราะห์นอกระบบมากกว่า 3,000 ดวงที่ถูกค้นพบด้วยวิธีการผ่านหน้า โดยวิธีนี้จะเป็นการศึกษากราฟแสงของดาวเคราะห์นอกระบบที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ในงานวิจัยนี้จะใช้การวิเคราะห์สเปกตรัมส่องผ่านศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบที่ถูกค้นพบด้วยวิธีการผ่านหน้าที่เป็นดาวแก๊สยักษ์จำนวน 30 ดวง โดยจะนำกราฟแสงของดาวเคราะห์นอกระบบเหล่านี้ที่ถูกสังเกตการณ์โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล, เทส, และเจมส์ เวบบ์ มาวิเคราะห์หาค่าสมบัติทางกายภาพของดาวเคราะห์นอกระบบและค่าความลึกของการเคลื่อนที่ผ่านหรือความลึกของกราฟแสงโดยใช้แพคเกจ TransitFit ซึ่งเป็นชุดโปรแกรมที่ใช้ภาษา Python สำหรับวิเคราะห์กราฟแสงโดยใช้อัลกอริทึม nested sampling จากนั้นจะนำค่าความลึกของกราฟแสงที่ความยาวคลื่นต่าง ๆ ไปใส่ในแพคเกจ TaxuREx 3 เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบ ผลการวิเคราะห์ชั้นบรรยากาศที่น่าสนใจในงานวิจัยนี้คือการพบน้ำปริมาณ 0.01%, 5%, 0.02%, และ 5% ในชั้นบรรยากาศของ WASP-43 b, WASP-76 b, WASP-103 b และ HAT-P-26 b ตามลำดับen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650535902_Thammasorn.pdf39.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.