Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79605
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKwanjit Duangsonk-
dc.contributor.authorOrathai Yinsaien_US
dc.date.accessioned2024-07-04T01:01:44Z-
dc.date.available2024-07-04T01:01:44Z-
dc.date.issued2021-09-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79605-
dc.description.abstractStenotrophomonas maltophilia is an important opportunistic pathogen that is one of the major cause of nosocomial infection. It is a multidrug resistant bacterium that can colonize in a hospital setting and become a problem of the hospital control. Little is known about characteristics of this bacterium, especially in Thailand. This study was aimed to determine the genotypic and phenotypic characteristics of S. maltophilia isolates from Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. Total of 200 S. maltophilia isolates were collected from 4 types of specimens of which most isolates were from sputum specimen. The investigation of clinical features of S. maltophilia infection found that most of patients who were infected with S. maltophilia, were male and aged people. Many patients were suffered with underlying illnesses and severe condition. In addition, S. maltophilia is usually found co-infected with other microorganisms. Genetic relationship and MLST analysis showed that a high degree of genetic diversity was observed among S. maltophilia isolates. A total of 141 sequence types (STs) were observed among 200 isolates. Of these 141 STs, 130 allelic profiles were identified as new sequence types. Construction of minimum spanning tree of global S. maltophilia revealed seven large clonal complexes which S. maltophilia from Thailand were dominated in most of clonal complexes and found to be a founder of some branches. S. maltophilia of Thailand were closely related to S. maltophilia from China, South Korea and the USA. The clonal complex analysis of Thai isolates identified major six different clonal complexes. Each group exhibited different antibiotic resistant properties and different phenotypes.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleGenotypic and Phenotypic Characterization of Stenotrophomonas maltophilia Isolated from Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.title.alternativeการศึกษาคุณลักษณะทางจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของเชื้อสเตโนโทรโฟโมแนส มัลโตฟิเลียที่แยกได้จากโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshStenotrophomonas maltophilia-
thailis.controlvocab.lcshMicroorganisms-
thailis.controlvocab.lcshInfection-
thailis.controlvocab.lcshNosocomial infections -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshMaharaj Nakorn Chiang Mai Hospital-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractStenotrophomonas maltophilia คือเชื้อโรคฉวยโอกาสที่สำคัญ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งสาเหตุใหญ่ของการติดเชื้อในโรงพยาบาล เชื้อชนิดนี้เป็นเชื้อดื้อยาที่สามารถอาศัยอยู่ในอุปกรณ์การแพทย์ได้และกลายมาเป็นปัญหาต่อการจัดการในโรงพยาบาล คุณลักษณะของเชื้อเแบคทีเรียชนิดนี้เป็นที่ทราบกันน้อย โดยเฉพาะในประเทศไทย การศึกษานี้จึงมุ่งเน้นที่ศึกษาคุณลักษณะ ทางจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของเชื้อ S. maltophilia จากโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เชื้อ S. maltophilia จำนวน 200 ไอโซเลทถูกเก็บจากสื่งส่งตรวจ 4 ชนิด โดยเชื้อที่แยกได้ส่วนใหญ่มาจากเสมหะ จากการศึกษาลักษณะเฉพาะทางคลินิก พบว่าคนไข้ส่วนใหญ่ที่ติดเชื้อ S. maltophlia นั้นเป็นชาย และผู้สูงอายุผู้ป่วยหลายคนเจ็บป่วยด้วยโรคประจำตัว และอาการรุนแรง นอกจากนี้ S. maltophilia ยังมักพบการติดเชื้อร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ชนิดอื่นอีกด้วย จากการศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และการวิเคราะห์ MLST พบความหลากหลายทางพันธุกรรมในเชื้อ S. maltophiia โดยพบซีเควนซ์ไทป์ทั้งหมด 141 รูปแบบในเชื้อทั้ง 200 ไอโซเลท โดยใน 141 รูปแบบนี้มีจำนวน 130 allelic profiles ที่ถูกจัดให้เป็นชีเควนซ์ไทป์ใหม่ ในการสร้าง minimum spanning tree จาก S.maltophilia ทั่วโลก พบ clonal complexes ขนาดใหญ่ทั้งเจ็ดกลุ่ม ซึ่งไอโซเลทจากประเทศไทยพบมากใน clonal complexes ส่วนใหญ่ และพบว่าเป็น founder ของบาง branch เชื้อ S. maitophilia ของประเทศไทยมีความใกล้ชิดกับเชื้อจากประเทศจีน เกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา การศึกษา clonal complexes ในไอโซเลทของไทยพบว่าถูกแบ่งเป็น clonal complexes ขนาดใหญ่หกกลุ่ม ซึ่งแต่ละกลุ่มจะแสดงคุณสมบัติการดื้อยา และฟืโนไทป์ที่แตกต่างกัน จากผลความไวต่อยา เชื้อ S. maltophilia แสดงการดื้อต่อยา ceftazidime ในระดับสูง แต่พบการดื้อยาระดับต่ำลงมาในยา chloramphenicol, levofloxacin, co-trimoxazole และไม่พบการดื้อต่อยา minocyeline จากการตรวจหายีนดื้อยา พบว่า 91.5% ของไอโซเลททั้งหมด ตรวจพบยืน smeF ยีน blaL1, blaL2 พบใน 43%, 10% ของไอโซเลทตามลำดับ ขณะที่ยืน sull, sul2 และ intI1 ตรวจพบใน 6%. 2% และ 7% ของไอโซเลทตามลำดับ ส่วนยืน floR และ mfsA ตรวจพบใน 8.5% และ 4% ของไอโซเลท เชื้อ S. maltophiia ส่วนใหญ่สามารถสร้างไบโอฟิล์มได้ และสามารถเคลื่อนที่แบบ swim ในอาหารกึ่งแข็งได้ แต่ไม่พบการเคลื่อนที่แบบ swarm ไอโซเลททั้งหมดสามารถสร้าง hemolysin ในขณะที่ 91.5% และ 22.5% ของไอโซเลทสามารถหลั่งเอนไซม์ protease และ lipase ได้ตามลำดับ ความแตกต่างของข้อมูลทางพันธุกรรม และรูปแบบการดื้อยาทำให้เกิดการแสดงฟีโนไทป์หลายรูปแบบในการสร้างไบโอฟิล์ม การเคลื่อนที่การสร้างสารพิษ และเอนไซม์ ซึ่งช่วยสนับสนุนความสามารถในการก่อโรค และความรุนแรงของเชื้อแบคที่เรียชนิดนี้en_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600751011 อรทัย ยินใส.pdf30.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.