Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKidsadagon Pringproa-
dc.contributor.authorPichanun Wongchanapaien_US
dc.date.accessioned2024-07-01T01:18:15Z-
dc.date.available2024-07-01T01:18:15Z-
dc.date.issued2022-10-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79597-
dc.description.abstractThe twenty-four crossbred male pigs at 26 days of age with high maternally derived antibody were divided into 4 groups, negative control group, chimeric PCV type1-type2a (PCV2a) antigen based vaccine group, chimeric PCV type1-type2a and 2b (PCV2a-2b) antigen based vaccine group and positive control group. Three weeks after vaccination, all pigs except negative control group were inoculated with PCV2d (PCV2d/149/TH/2020) at 105 50% tissue culture infectious dose (TCID50) per mL 4 mL/pig, divided into 2 routes of inoculation including intranasal and intramuscular 2 mL/route. Every week except the day of vaccination, blood samples were collected from each pig for PCV2 neutralizing antibody titers measurement by IPMA, PCV2-specific immunoglobulin G antibody (IgG) titers evaluation by ELISA, PCV2 DNA detection by real time PCR. The initial weight and final weight were measured at the day of arrival and 28 days after inoculation or 75 days old. At 77 days old, all pigs were euthanized. Macroscopic and microscopic examination from lung tissues, superficial inguinal lymph nodes, tracheobronchial lymph node and mesenteric lymph nodes were evaluated at the end of the study and immunohistochemistry (IHC) staining were used for PCV2 viral antigen detection. The result indicated that in the heterologous genotype inoculation, chimeric PCV type1-type2a and 2b (PCV2a-2b) antigen based vaccine induced higher PCV2 specific neutralizing antibody titers significantly compared to chimeric PCV type1-type2a (PCV2a) antigen based vaccine. Moreover, chimeric PCV type1-type2a and 2b (PCV2a-2b) antigen based vaccine could be used to reduce the incidence of infection in lymphoid tissues evaluated by immunohistochemistry score. However, both types of PCV2 vaccines could be used to stimulate the immunological response before infection and delay the presence of viremia.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectHeterologous Genotype infectionen_US
dc.titleComparative efficacy of commercial Porcine Circovirus Vaccines against Heterologous Genotype infectionen_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวัคซีนป้องกันโรคเซอร์โคไวรัสในสุกรต่อการติดเชื้อต่างจีโนไทป์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCircovirus Vaccines-
thailis.controlvocab.lcshSwine -- Virus diseases-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractลูกสุกรจำนวน 24 ตัว ที่อายุ 26 วัน ซึ่งมีระดับภูมิคุ้มกันที่ได้รับจากแม่สู่ลูกในระดับสูง ถูกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มการทดลอง ได้แก่ กลุ่มควบคุมที่ไม่มีการทำวัคซีนป้องกันโรคเซอร์โคไวรัส และไม่ได้รับการฉีดเชื้อพิษทับ, กลุ่มที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคเซอร์โคไวรัสชนิดที่ใช้เทคโน โลยีการผลิตแอนติเจนแบบไคเมอร์ริค ที่เกิดจากการตัดแต่งพันธุกรรมระหว่างเชื้อเซอร์โคไวรัสไทป์ 1 ร่วมกับเซอร์โคไวรัสไทป์ 2เอ และได้รับการฉีดเชื้อพิษทับ, กลุ่มที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคเซอร์โคไวรัสชนิดที่ใช้เทคโนโลยีการผลิตแอนติเจนแบบไคเมอร์ริค ที่เกิดจากการตัดแต่งพันธุกรรมระหว่างเชื้อเซอร์โคไวรัสไทป์ 1 ร่วมกับเซอร์โคไวรัสไทป์ 2เอ และ 2บี และได้รับการฉีดเชื้อพิษทับ และกลุ่มควบคุมที่ไม่มีการทำวัคซีนป้องกันโรคเซอร์โคไวรัส และได้รับการฉีดเชื้อพิษทับ หลังจากทำวัคซีน 3 สัปดาห์ สุกรทุกตัวยกเว้นกลุ่มควบคุมที่ไม่มีการทำวัดซีนป้องกันโรคเซอร์โคไวรัส และไม่ได้รับการฉีดเชื้อพิษทับ จะ ได้รับเชื้อเซอร์โคไวรัสชนิด PCV2d/149 TH/2020 ที่ปริมาณ 10 50% TCID50 /มิลลิลิตร โดยปริมาณทั้งหมดที่ได้รับต่อตัว คือ 4 มิลลิลิตร เข้าทาง 2 ช่องทางได้แก่ ทางการหยอดจมูก 2 มิลลิลิตร และทางการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 2 มิลลิลิตร สุกรทุกตัวจะถูกเก็บซีรั่มเพื่อนำไปตรวจหาระดับภูมิคุ้มกันชนิด neutralizing antibody ที่จำเพาะต่อเชื้อ PCV2d, ภูมิคุ้มกันชนิด immunoglobulin G ที่จำเพาะต่อเชื้อ PCV2 และหาDNA ของเชื้อเซอร์โคไวรัส ทุกสัปดาห์ยกเว้นวันทำวัคซีน การชั่งน้ำหนักทำที่ ณ วันแรกที่รับเข้า และ วันที่ 28 หลังจากให้เชื้อพิษทับหรือที่อายุ 75 วัน จากนั้นที่อายุ 77 วัน สุกรทั้งหมดในการทดลองจะถูกการุณยฆาต เพื่อทำการสำรวจรอยโรคทางพยาธิวิทยา และจุลพยาธิวิทยา โดยเก็บอวัยวะสำคัญ ได้แก่ ปอด ต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอด ต่อมน้ำเหลืองที่เยื่อยึดลำไส้ และต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบ เพื่อนำไปย้อมด้วยวิธีอิมมูโนพยาธิวิทยา เพื่อหาแอนติดเจนของเซอร์ไวรัส ผลการทดลองพบว่า การใช้วัคซีนที่มีแอนติเจนชนิดที่เกิดจากการตัดแต่งพันธุกรรมระหว่างเชื้อเซอร์โคไวรัสไทป็ 1 ร่วมกับเซอร์โคไวรัสไทป์ 2เอ และ 2บี ให้ระดับภูมิคุ้มกันชนิด neutralizing antibody สูงกว่าการใช้วัคซีนที่แอนติเจนเกิดจากการตัดแต่งพันธุกรรมระหว่างเชื้อเซอร์โคไวรัสไทป์ 1 ร่วมกับเซอร์โคไวรัสไทป์ 2เอ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม วัคชีนทั้ง 2 ชนิดก็สามารถกระตุ้นการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันก่อนการติดเชื้อ และยืดระยะเวลาการพบเชื้อไวรัสในกระแสเลือดให้นานออกไปได้ในการเลี้ยงสุกรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อเซอร์โคไวรัสต่างจีโนไทป์นอกจากนี้ การใช้วัคซีนที่แอนติเจนเกิดจากการตัดแต่งพันธุกรรมระหว่างเชื้อเซอร์โคไวรัสไทปี 1 เซอร์โคไวรัสไทป์ 2เ0 และ 2 ยังสามารถลดอุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสในเนื้อเยื่อต่อมน้ำเหลืองได้โดยการวัดผลจากการให้คะแนนอิมมูโนพยาธิวิทยาen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631435909 พิชานันท์ วงศ์ชนะภัย.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.