Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79591
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNattakarn Awaiwanont-
dc.contributor.authorSupawooth Faluanen_US
dc.date.accessioned2024-06-27T01:28:28Z-
dc.date.available2024-06-27T01:28:28Z-
dc.date.issued2022-08-23-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79591-
dc.description.abstractThis study examined the effects of galacto-oligosaccharides(GOS) as a prebiotic supplementation on gut health promotion in broiler chickens. A total of 100 day- old ROSS-308 male broiler chickens were randomly allocated into two groups, 5 replicates per group. Control group (CON) received basal diet and experimental group (GOS) received basal diet supplemented with 1% GOS (w/w) for three weeks. Individual body weight and group feed intake were weekly recorded to evaluate the average daily gain (ADG) and feed conversion ratio (FCR). Five birds per group were euthanized on weeks 1, 2, 3, and 5 for sample collection. Blood and intestinal content ( duodenum, jejunum, ileum, and cecum) were collected for analysis malondialdehyde (MDA) and short-chain fatty acids (SCFAs) levels. Internal organs and intestinal tissues were collected for weight measurement and intestinal morphology analysis on week 3, and week 5. The results of this study showed that GOS also had no effect on body weight, feed intake, and average daily gain throughout the whole trial period. However, the GOS group significantly impacted on FCR values during week4-5 (P <0.05). On the week 3, the weight of livers and bursa in the GOS group were significantly lower than in the CON group (P <0.05) while significantly shorter ileum crypt depth and higher ileum villi height per crypt depth ratio were detected in the GOS group compared with the CON group (P <0.05). Furthermore, an increasing trend of villi height on week 3 (P =0.08) in GOS group was observed. The intestinal SCFAs levels of GOS group showed significantly higher than CON group on week 1; duodenum (acetic acid, propionic acid, butyric acid, and valeric acid) (P <0.05), cecum (acetic acid, propionic acid, and butyric acid) (P <0.05), on the week 2; cecum (propionic acid) (P <0.05) and on the week 3; cecum (acetic acid) (P <0.05). In addition, MDA levels of GOS group showed significantly lower than CON group on week 1 and week 3 (P <0.05). These findings suggest that GOS supplementation in broiler chickens could improve gut health. However, further investigation on the efficacy of GOS on the gut microbiota of broiler chickens is required.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectGalacto-oligosaccharidesen_US
dc.titleEffect of Galacto-oligosaccharides as Prebiotic supplementation on Gut Health promotion in Broiler chickensen_US
dc.title.alternativeผลของกาแล็คโทโอลิโกแซ็คคาไรด์เพื่อเป็นสารเสริมพรีไบโอติกสําหรับการส่งเสริมสุขภาพทางเดินอาหารในไก่เนื้อen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDigestive organs -- Blood-vessels-
thailis.controlvocab.lcshBroilers (Chickens) -- Diseases-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นการศึกษาผลของกาแล็คโทโอลิโกแซ็คคาไรด์ในการเป็นสารเสริมพรีไบโอติกเพื่อส่งเสริมสุขภาพทางเดินอาหารในไก่เนื้อ ไก่เนื้อสายพันธุ์ โรส 308 จำนวน 100 ตัวถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่มการทดลอง กลุ่มควบคุมได้อาหารปกติตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1 จนถึงสัปดาห์ที่ 5 ในขณะที่กลุ่ม 2 ได้รับอาหารปกติผสมกาแล็คโทโอลิโกแซ็ดคาไรด์ร้อยละ 1 เป็นเวลา 3 สัปดาห์ ทุกสัปดาห์จะมีการบันทึกน้ำหนักตัวไก่และปริมาณอาหารที่กินเพื่อวิเคราะห์สมรรถภาพการเจริญเติบโต ในสัปดาห์ที่ 1,2.3 และ 5 ไก่เนื้อกลุ่มละ 5 ตัว จะถูกเมตตามาตและเก็บตัวอย่างเลือดและของเหลวในทางเดินอาหารส่วนลำไส้เล็ก (ดูโอดีนัม เจจูนัม และไอเลียม) และไส้ตัน เพื่อวิเคราะห์ระดับมาลอนไดอัลดีไฮด์ในเลือดและกรดไขมันสายสั้นในระบบทางเดินอาหารตามลำดับ ในสัปดาห์ที่ 3 และ 5 ทำการเก็บตัวอย่างอวัยวะกายใน (ตับ ม้ามและต่อมเบอร์ซ่า) เพื่อตรวจวิเคราะห์น้ำหนัก และลำไส้ส่วน ดูโอดีนัม เจจูนัม และไอเลียมเพื่อตรวจวิเคราะห์สัณฐานวิทยาของลำไส้เล็ก จากผลการทดลอง พบว่า ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของน้ำหนักตัว อัตราการกินได้ และอัตราการเจริญเติบโตต่อวันในทั้งสองกลุ่มการทดลองตลอดช่วงเวลาการทดลอง อย่างไรก็ตามค่าอัตราแลกเนื้อในกลุ่มสารเสริมกาแล็คโทโอลิโกแซ็คคาไรด์ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกลับกลุ่มที่ได้อาหารปกติในช่วงสัปดาห์ที่ 4-5 ของการทดลอง (P <0.05) ในช่วงสัปดาห์ที่ 3 พบว่ากลุ่มสารเสริมกาเล็คโทโอลิโกเซ็คคาไรด์มีน้ำหนักของตับและต่อมเบอร์ซ่าน้อยกว่ากลุ่มอาหารปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <0.05) ในส่วนของสัญฐานวิทยาของลำไส้เล็ก กลุ่มที่ได้รับสารเสริมกาแล็คโทโอลิโกแซ็คคาไรด์ในส่วนลำไส้ไอเลียมมีความลึกของคริปท์ลดลง (P <0.05) และมีอัตราส่วนของวิลไลต่อคริปท์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) นอกจากนี้ยังพบแนวโน้มความสูงของวิลไลเพิ่มขึ้นในลำไส้ส่วนไอเลียม(P =0.08) กลุ่มสารเสริมกาแล็คโทโอลิโกแช็คคาไรด์มีระดับกรดไขมันสายสั้นสูงกว่ากลุ่มอาหารปกติอย่างมีนัยสำคัญในระบบทางเดินอาหารในช่วงเวลาและตำแหน่งต่างๆ ในสัปดาห์ที่ 1 ลำไส้ส่วนดูโอดีนัมมีระดับ กรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิก กรดบิวทิริก และกรดวาเลริก (P <0.05) ส่วนไส้ตัน ระดับกรดอะซิติก กรดโพรพิโอนิก กรดบิวริก ใน (P <0.05) ในสัปดาห์ที่ 2 ระดับกรดโพรพิโอนิกในส่วนไส้ตัน (P <0.05) และระดับกรดอะซิติกในส่วนไส้ตันในสัปดาห์ที่ 3 (P <0.05) นอกจากนี้ระดับมาลอนไดอัลดีไฮด์ ในเลือดของกลุ่มกาแลคโตโอลิโกแซดคาไรด์ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้อาหารปกติในสัปดาห์ที่ 1และ 3 ของการทดลอง (P <0.05) จากผลการทดลองพบว่ากาแลคโตโอลิโกแซคคาไรด์สามารถส่งเสริมสุขภาพระบบทางเดินอาหาร อย่างไรก็ตามผลของกาแลคโตโอลิโกแซดคาไรด์ต่อจุลชีพในระบบทางเดินอาหารยังคงต้องทำการศึกษาต่อไปen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601431012 ศุภวุฒิ ฟ้าเลื่อน.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.