Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนภชา สิงห์วีรธรรม-
dc.contributor.advisorสินีนาฏ ชาวตระการ-
dc.contributor.authorพิทยารัตน์ จิกยองen_US
dc.date.accessioned2024-06-27T00:33:33Z-
dc.date.available2024-06-27T00:33:33Z-
dc.date.issued2024-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79585-
dc.description.abstractThis is cross-sectional study to investigate association between health belief model and cervical cancer screening among women Aged 30-60 years in Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province. A total of 396 women aged 30-60 years who registered in civil registration in Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province were recruited using multi-stage sampling. A Self-created questionnaire was used for collecting data. Descriptive statistical analyzed was used and reported as frequency, percentage, mean, and standard deviation. The Chi - square and Fisher's exact test were used for Inferential statistic. The results of the study found that 217 of 396 people (54.8%) had been screened for cervical cancer. Regarding the level of health belief patterns including perceived susceptibility, perceived severity, perceived benefits and perceived barriers presented similarly at moderate level. Moreover, the perception of severity and perception of the benefits of cervical cancer screening and receiving cervical cancer screening was statistically significant associated with cervical cancer screening. (p-value=0.005 and 0.008 respectively). Factors that are significantly related to receiving cervical cancer screening include age, marital status, education level, income, congenital diseases, exercise, birth control, pregnancy, having children, and oral cancer vaccination. womb and receiving news about cervical cancer screening (p-value=0.003, <0.001, 0.015, 0.019, 0.044, 0.009, <0.001, <0.001, <0.001, 0.044 and <0.001, respectively). Promotion of cervical cancer screening should emphasize public relations that raise awareness of the benefits and seriousness of the disease which results in detecting the disease in its early stages and reducing the death rate from cervical cancer.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRelationship between health belief model and cervical cancer screening among women aged 30-60 years in Mueang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashปากมดลูก -- มะเร็ง-
thailis.controlvocab.thashปากมดลูก -- โรค-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional Study) เพื่อการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรี อายุ 30-60 ปี สัญชาติไทย มีชื่ออยู่ในทะเบียนราษฎร์ของอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 396 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi stage sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ใช้สถิติวิเคราะห์ Chi - square และ Fisher’s exact test ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 396 มีกลุ่มเป้าหมายที่เคยเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 217 คน (ร้อยละ 54.8) และในส่วนของระดับแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรค อยู่ในระดับปานกลาง และความสัมพันธ์ระหว่างแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพและการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก พบว่า การรับรู้ความรุนแรง และการรับรู้ประโยชน์ มีความสัมพันธ์ต่อการเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value=0.005 และ 0.008 ตามลำดับ) และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ โรคประจำตัว การออกกำลังกาย การคุมกำเนิด การตั้งครรภ์ การมีบุตร การฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก และการได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (p-value=0.003, <0.001, 0.015, 0.019, 0.044, 0.009, <0.001, <0.001, <0.001, 0.044 และ <0.001 ตามลำดับ) การส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกควร เน้นประชาสัมพันธ์เพื่อทำเกิดการรับรู้ถึงประโยชน์และความรุนแรงของโรค เพื่อเป็นการตรวจพบโรคในระยะเบื้องต้นและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้en_US
Appears in Collections:PHARMACY: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
652232022 พิทยารัตน์ จิกยอง.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.