Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79583
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณภัทร จักรวัฒนา | - |
dc.contributor.author | ภคุณ ใจมุข | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-26T10:04:35Z | - |
dc.date.available | 2024-06-26T10:04:35Z | - |
dc.date.issued | 2024-04-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79583 | - |
dc.description.abstract | The Construction of roads using plastic waste as a component is an alternative method for plastic waste management. However, this method raises concerns due to the potential release of microplastics into the environment. Therefore, a laboratory simulation of asphalt concrete mixed plastic road in construction and operation was conducted to examine the release of microplastics in both air and water pathway. Four types of plastic were used in this study, categorized as follows: PE (68%), PP (20.33%), PET (7.72%), and PS (3.95%), based on a material flow analysis of recycled plastic waste found in landfills in Thailand, 2021. Water samples were collected during the simulated road operation, while air samples were collected during both the construction and simulated road operation. The collected samples were analyzed using a stereomicroscope, SEM-EDX, and FTIR. In addition, PM2.5 data were collected to analyze the release of dust particles during each road construction and operation process. The analytical results revealed no particles resembling microplastics in either the air or water samples. This absence of microplastics is likely due to the mixing process being conducted within a small-scale closed system, which allowed for precise control of the conditions. This controlled environment facilitated the complete melting of the plastics, thus minimizing the possibility for microplastic release. The highest concentration of PM2.5 particles was detected in the 0.3 µm range, the use of PM2.5 dust masks is suggested to protect against particle inhalation. Furthermore, sample pre-treatment, such as density separation and organic matter removal, remains necessary even when the study is performed in a closed system. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การศึกษาความเป็นไปได้ของการหลุดรอดของไมโครพลาสติกจากกระบวนการสร้างและใช้งานถนนแอสฟัลต์ผสมพลาสติก | en_US |
dc.title.alternative | Possibility of Microplastics leakage from construction and operation of Asphalt concrete road mix with plastic | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ไมโครพลาสติก | - |
thailis.controlvocab.thash | แอสฟัลต์คอนกรีต | - |
thailis.controlvocab.thash | ผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต | - |
thailis.controlvocab.thash | ขยะพลาสติก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การก่อสร้างถนนโดยใช้ขยะพลาสติกเป็นส่วนผสมนั้นถือเป็นอีกหนึ่งวิธีของการจัดการขยะพลาสติกที่น่าสนใจ แต่วิธีนี้ยังเป็นที่น่ากังวล เนื่องจากอาจจะเกิดไมโครพลาสติกหลุดสู่สิ่งแวดล้อมได้ ดังนั้นจึงได้มีการจำลองกระบวนก่อสร้างและใช้งานถนนที่ผสมพลาสติกในระดับห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจสอบการปลดปล่อยของไมโครพลาสติกทั้งในทางอากาศและทางน้ำ พลาสติกที่ใช้ในงานวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ PE ร้อยละ 68, PP ร้อยละ 20.33, PET ร้อยละ 7.72 และ PS ร้อยละ 3.95 โดยน้ำตัวอย่างจะถูกเก็บในช่วงการจำลองใช้งานถนน ในขณะที่ตัวอย่างทางอากาศจะถูกเก็บทั้งในกระบวนการก่อสร้างถนนและการจำลองการใช้งานถนน หลังจากนั้นตัวอย่างจะถูกนำไปวิเคราะห์ด้วย Stereomicroscope, SEM-EDX และ FTIR เพื่อหาความเป็นไปได้ของการหลุดรอดของไมโครพลาสติก นอกจากนี้ ได้มีการเก็บข้อมูล PM2.5 เพิ่มเติมเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในแต่ละกระบวนการ จากผลลัพธ์การวิเคราะห์ทั้งอนุภาคจากอากาศและจากตัวอย่างน้ำ ไม่พบอนุภาคที่มีความคล้ายคลึงกับไมโครพลาสติก การที่ไม่พบนั้นสันนิษฐานได้ว่า เป็นผลมาจากกระบวนการผสมที่ถูกดำเนินการในระบบปิดขนาดเล็ก ซึ่งทำให้สามารถควบคุมสภาวะต่างๆได้อย่างแม่นยำ ส่งผลให้พลาสติกเกิดการหลอมเหลวและเป็นไปได้ยากที่จะปลดปล่อยไมโครพลาสติก จากข้อมูลปริมาณ PM2.5 ที่เกิดขึ้นพบว่าขนาดอนุภาคช่วง 0.3µm มีการปลดปล่อยมากที่สุด เพื่อป้องกันอันตรายจากฝุ่นละออง แนะนำให้ใส่หน้ากากที่สามารถกรองฝุ่น PM2.5 ได้ นอกจากนี้ กระบวนการเตรียมตัวอย่าง เช่น การแยกด้วยความหนาแน่น หรือการกำจัดสารอินทรีย์ ถือเป็นสิ่งจำเป็นในการแยกอนุภาคที่ไม่ใช่ไมโครพลาสติก ถึงแม้ว่างานวิจัยจะดำเนินการในระบบปิดก็ตาม | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620631040-ภคุณ ใจมุข.pdf | 4.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.