Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชษฐภูมิ วรรณไพศาล-
dc.contributor.advisorชญานิตย์ ยิ้มสวัสดิ์-
dc.contributor.authorมนตรา ขันธ์ทองen_US
dc.date.accessioned2024-06-26T10:01:32Z-
dc.date.available2024-06-26T10:01:32Z-
dc.date.issued2024-04-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79582-
dc.description.abstractThis research has 3 objectives. 1. To study the community’s context. 2. To create Local Geohistorical learning innovation based on community’s context. 3. To study the result of Local Geohistorical learning innovation usage that affect the promote of active citizenship in primary school students population sample group which are 15 students from one of the Primary grade 3 class(2022, 2nd semester) of Wat Huaysai school by the using of purposive sampling method. Documents using in the research consist of “Interview form about “Maetha Community’s context”, Learning innovation evaluation form and Interview form about “Characteristic of Active Citizen”. Statistic that had been use in this research is Mean and Standard Deviation. The research result has showed that 1) Community’s context Maetha community is a 300 years old community that also had continuous development overtime and had been spent a large amount of natural resources to the point that the people in the community had to promote the preservation of natural resources in order to maintain the community’s abundance. 2) Local Geohistorical Learning Innovation had affected the Active Citizenship of the student by 4.58(Evaluation from 5 experts) which considered to be in the most suitable level. 3) Result of the usage of Local Geohistorical Learning Innovation that affected students’ Active Citizenship, the evaluation of the students via an interview and observation by teachers and their parent showed that all of students had passed the criteria of Active Citizen which consisted of: 2 students in Good level and 13 students in Excellent level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleนวัตกรรมการเรียนรู้ภูมิประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยใช้บริบทชุมชนแม่ทาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการเป็นพลเมืองตื่นรู้ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาen_US
dc.title.alternativeLocal geohistorical approach based on Maetha community's for promote active citizen in primary school studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน -- แม่ออน (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashประวัติศาสตร์ -- โปรแกรมกิจกรรม-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนประถมศึกษา -- แม่ออน (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการเรียนแบบมีส่วนร่วม -- แม่ออน (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1.เพื่อศึกษาบริบทชุมชน 2.เพื่อสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ภูมิประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยใช้บริบทชุมชนเป็นฐาน และ 3.เพื่อศึกษาผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ภูมิประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่มีผลต่อการเป็นพลเมืองตื่นรู้ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดห้วยทราย อำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 1 ห้อง นักเรียน 15 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์แบบเรื่อง บริบทชุมชนแม่ทา แบบประเมินความเหมาะสมของนวัตกรรม นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ และแบบสัมภาษณ์คุณลักษณะความเป็นพลเมืองตื่นรู้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า 1) บริบทชุมชน ชุมชนแม่ทาเป็นชุมชนที่มีอายุเก่าแก่กว่า 300 ปี มีพัฒนาการมาโดยลำดับ มีการใช้ทรัพยากรป่าไม้มากมาย จนสุดท้ายชุมชนรวมกลุ่มกันเพื่อรักษาทรัพยากรป่าไม้ไว้ เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของชุมชน 2) นวัตกรรมการเรียนรู้ภูมิประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่มีผลต่อการเป็นพลเมืองตื่นรู้ของนักเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน เท่ากับ 4.58 ซึ่งอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 3) ผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ภูมิประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่มีผลต่อการเป็นพลเมืองตื่นรู้ของนักเรียน เมื่อประเมินผลนักเรียนโดยวิธีการสัมภาษณ์ประกอบกับการสังเกตโดยครูผู้สอนและผู้ปกครองพบว่านักเรียนผ่านเกณณ์การเป็นพลเมืองตื่นรู้ทุกคน โดยระดับคุณภาพอยู่ในระดับดี 2 คน และระดับดีมาก 13 คนen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232012 มนตรา ขันธ์ทอง.pdf13.94 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.