Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79565
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorก้องภู นิมานันท์-
dc.contributor.authorธนภรณ์ ทองอินen_US
dc.date.accessioned2024-06-22T08:45:17Z-
dc.date.available2024-06-22T08:45:17Z-
dc.date.issued2023-12-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79565-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to examine the Inventory Management of main raw materials in the production of conveyor belts at Siam Wire Netting Company Limited. The goal was to understand how to effectively manage inventory, with the information applied to the management of main raw materials in the production of conveyor belts by employing ABC Analysis. There were 46 items of main raw materials for the production of conveyor belts, categorized into three groups: A, B, and C, comprising specific percentages of the total purchase value of main raw materials, which were 71%, 35%, and 9%. In this research, the focus was solely on the main raw material group A for demand forecasting. Various forecasting methods were utilized in this research, including Moving Average, Exponential Smoothing, Holt’s Method, Holt-Winter, Croston's Method, Syntetos and Boylan. The accuracy of the forecasts was then assessed using the minimum Mean Absolute Deviation (MAD). The obtained predictions were further analyzed to determine the coefficient of variance, aiding in the selection of an appropriate inventory management method. This involved determining the Economic Order Quantity (EOQ) and Silver Meal method, as well as establishing the Reorder Point (ROP) and safety stock (SS). The results of this independent study revealed that the costs associated with raw material inventory management could be reduced by 249,568.97 Baht or 1.77% per year by implementing raw material inventory management techniques.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการสินค้าคงคลังของวัตถุดิบหลักในการผลิตสายพานลำเลียงของ บริษัท สยาม ไวร์ เน็ตติ้ง จำกัดen_US
dc.title.alternativeInventory management of main raw materials in production of conveyor belts of Siam Wire Netting Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบริษัท สยาม ไวร์ เน็ตติ้ง จำกัด-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashสายพานลำเลียง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาการจัดการสินค้าคงคลังของวัตถุดิบหลักในการผลิตสายพานลำเลียงของบริษัท สยาม ไวร์ เน็ตติ้ง จำกัด เพื่อทำให้ทราบวิธีการจัดการสินค้าคงคลัง และสามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในการจัดการสินค้าคงคลังของวัตถุดิบหลักในการผลิตสายพานลำเลียงของ บริษัท สยาม ไวร์ เน็ตติ้ง จำกัด โดยการวิเคราะห์ประเภทของวัตถุดิบหลัก (ABC Analysis) สำหรับการศึกษานี้ผู้ศึกษาเลือกวัตถุดิบหลักในการผลิตสายพานลำเลียงจำนวน 46 รายการ มาทำการวิเคราะห์ ABC Analysis โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม A,B และ C ซึ่งประกอบด้วยวัตถุดิบหลักจำนวนร้อยละ 71, 35 และ 9 ของมูลค่าการสั่งซื้อวัตถุดิบหลักทั้งหมด และผู้ศึกษาได้เลือกวัตถุดิบหลักประเภท A เพื่อนำมาพยากรณ์ความต้องการ โดยใช้การพยากรณ์คือ Moving Average, Exponential Smoothing, Holt’s Method, Holt-Winter, Croston's Method และ Syntetos and Boylan จากนั้นพิจารณาการพยากรณ์ที่เหมาะสม โดยพิจารณาค่าเบี่ยงเบนสมบูรณ์เฉลี่ย (MAD) ที่มีค่าต่ำที่สุด จากนั้นนำค่าพยากรณ์ที่ได้มาหาค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนเพื่อเลือกวิธีการจัดการวัตถุดิบคงคลังที่เหมาะสม โดยการประยุกต์ใช้วิธีปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity) หรือ EOQ และ คำนวณวิธี Silver-meal เพื่อหาต้นทุนรวมต่อช่วงเวลาที่ต่ำที่สุด รวมไปถึงหา จุดสั่งซื้อซ้ำ (ROP) และ สินค้าคงคลังปลอดภัย (SS) ผลการวิจัยพบว่า ต้นทุนการจัดการวัตถุดิบคงคลังก่อนและหลังประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดการวัตถุดิบคงคลังนั้น ทำให้สามารถลดต้นทุนได้เท่ากับ 249,568.97 บาท หรือเท่ากับ 1.77% ต่อปีen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532078-ธนภรณ์ ทองอิน.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.