Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79542
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรัญญา กันตะบุตร | - |
dc.contributor.author | ภาวิณี กันธิยะ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-19T12:28:18Z | - |
dc.date.available | 2024-06-19T12:28:18Z | - |
dc.date.issued | 2024-03-14 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79542 | - |
dc.description.abstract | This independent study aims to study customer satisfaction with the service quality of Krungthai FAST, Chiang Mai University branch. The questionnaire was used to gather data from 385 customers in less than one year and used five service quality concepts: reliability, responsiveness, assurance, empathy, and tangibles. The data analyzed using formal statistics consists of frequency, percentage, average, and comparison of importance and satisfaction using Importance-Performance Analysis (IPA), presenting evaluations in graphical form and clarifying the results through 4 quadrants. The survey found that most respondents were women aged 31 – 40 years with bachelor’s degrees. Most were private company employees and earned more than 50,000 baths. The most frequently used transaction type was deposit-withdrawal-transfer. The frequency of use was 1-3 times per month, and the entry date was uncertain. The respondents used the service between 12.31 p.m. to 2.30 p.m. Most of the reasons for choosing the service are that it is reliable. By comparing priority and satisfaction using the Importance-Performance Analysis (IPA), it was found that the most is in quadrant B (Keep Up the Good Work) of the five service quality concepts. The three are Reliability, Responsiveness, and Assurance, and in quadrant C (The Low Priority), consists of two parts: Empathy and Tangible. When evaluating Quadrants A’s sub-factor (Concentrate Here), it has been found that customers attach significant importance to a particular feature that has not been adequately addressed yet. Therefore, these improvements should be prioritized and implemented urgently to meet customer satisfaction needs. The overall picture includes reliability in resolving customer service problems, employees paying attention to customers during transactions, and employees prioritizing customer s’ best interests. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความพึงพอใจของลูกค้าต่อคุณภาพบริการของสาขารูปแบบ Krungthai FAST สาขามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Customer satisfaction towards service quality of Krungthai FAST, Chiang Mai University Branch | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ธนาคาร -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ | - |
thailis.controlvocab.thash | ธนาคาร -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | บริการลูกค้า -- การประเมิน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาแบบอิสระฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าต่อคุณภาพบริการของสาขารูปแบบ Krungthai FAST สาขามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากลูกค้าผู้ใช้บริการ จำนวน 385 ราย ใช้แนวคิดคุณภาพการบริการ 5 ด้าน ได้แก่ ความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ (Reliability) การตอบสนองลูกค้า (Responsive-ness) การรับประกันความมั่นใจ (Assurance) การดูแลเอาใจใส่ (Empathy) และสิ่งที่สัมผัสได้ (Tangibles) นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ทำการเปรียบเทียบระดับความสำคัญและความพึงพอใจโดยใช้การวิเคราะห์ Importance-Performance Analysis (IPA) นำเสนอผลการประเมินในรูปแบบกราฟและอธิบายความหมายของผลลัพธ์ผ่านการจำแนกตาราง 4 จตุภาค จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ผู้ตอบแบบสอบถามประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนและมีรายได้มากกว่า 50,000 บาทมากที่สุด ส่วนใหญ่เคยใช้บริการธุรกรรมประเภท คือ บริการฝาก-ถอน-โอนเงิน ความถี่ที่ใช้บริการต่อเดือน คือ 1-3 ครั้ง และวันที่มาใช้บริการไม่แน่นอน ผู้ตอบแบบสอบถามมาใช้บริการในเวลา 12.31-14.30 น. มากที่สุด และเหตุผลที่เลือกใช้บริการส่วนใหญ่ คือ มีความน่าเชื่อถือ การเปรียบเทียบระดับความสำคัญ และความพึงพอใจโดยใช้การวิเคราะห์ Importance-Performance Analysis (IPA) พบว่าจากแนวคิดคุณภาพบริการ 5 ด้านในภาพรวมอยู่ใน Quadrants B พึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์และบริการ (Keep Up the Good Work) 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ (Reliability) ด้านการตอบสนองลูกค้า (Responsiveness) และด้านการรับประกันความมั่นใจ (Assurance) และอยู่ใน Quadrants C ให้ความสำคัญต่ำ (Low Priority) 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการดูแลเอาใจใส่ (Empathy) และด้านสิ่งที่สัมผัสได้ (Tangible) เมื่อพิจารณาปัจจัยย่อยที่อยู่ใน Quadrants A ต้องให้ความสนใจ (Concentrate Here) ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่ลูกค้าให้ความสำคัญมาก แต่ยังไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอ จึงควรมีการปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างเร่งด่วน เพื่อสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้เกิดความความพึงพอใจ พบว่าในภาพรวม ได้แก่ ความน่าเชื่อถือในการแก้ปัญหาการบริการแก่ลูกค้า พนักงานแสดงความใส่ใจต่อลูกค้าที่กำลังทำธุรกรรม และพนักงานคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของลูกค้า | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621532119-ภาวิณี กันธิยะ.pdf | 901.49 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.