Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79540
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKanokwan Kiattisin-
dc.contributor.authorSuwaporn Chookiaten_US
dc.date.accessioned2024-06-19T11:59:19Z-
dc.date.available2024-06-19T11:59:19Z-
dc.date.issued2024-03-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79540-
dc.description.abstractThis study aims to investigate the chemical components, antioxidant properties, anti-aging effects, and moisturizing efficiency of extracts from Thai variety (Mucuna pruriens var. pruriens) and Indian variety (M. pruriens var. utilis). The extracts were obtained using 95% ethanol through the Soxhlet method. The total phenolic and flavonoid contents of the extracts were analyzed. The antioxidant properties were evaluated by DPPH assay, FRAP assay, and lipid peroxidation inhibition assay. The anti-aging activity was evaluated the inhibition of hyaluronidase, collagenase, and elastase. The moisturizing property was examined using an occlusion method. The results indicated that the M. pruriens var. utilis seeds extract showed better properties than M. pruriens var. pruriens seeds extract. The total phenolic content of the M. pruriens var. utilis seeds extract was 252.96 ± 3.27 mg gallic acid/g extract, and the total flavonoid content was 734.82 ± 28.48 mg quercetin/g extract. These values were higher than those of the M. pruriens var. pruriens seeds extract. Therefore, the M. pruriens var. utilis seeds extract was selected for further development as a nanoemulsion. The nanoemulsion was prepared with 0.05% w/w M. pruriens var. utilis seeds extract, 5% w/w oil phase (jojoba oil), and 10% w/w surfactant (5% w/w Tween 80 and 5% w/w Span 80) and water. The nanoemulsion was prepared using high shear homogenization and ultrasonication. The particle size, polydispersity index, and zeta potential of the nanoemulsion were found to be 149.9 nm, 0.26, and -32.69 mV, respectively. The entrapment efficiency was 63.46%. Furthermore, the in vitro skin retention study revealed that after 6 hours, 44.19% of the formulation permeated through the membrane. The stability study under room temperature and heating-cooling cycles showed no significant changes in particle size, polydispersity index, and zeta potential compared to initial. In conclusion, the nanoemulsion containing the M. pruriens var. utilis seeds extract demonstrated potential for further development in the cosmetic products.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAnti-aging activities study and development of Nanoemulsions delivery system containing Mucuna pruriens (L.) DC. seed extract for cosmetic applicationen_US
dc.title.alternativeการศึกษาฤทธิ์ชะลอริ้วรอยและการพัฒนาระบบนำส่งนาโนอิมัลชันที่มีสารสกัดเมล็ดหมามุ่ยเพื่อใช้ทางเครื่องสำอางen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshPlant extracts-
thailis.controlvocab.lcshAntioxidants-
thailis.controlvocab.lcshCosmetics-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบทางเคมี ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ฤทธิ์ต้านริ้วรอย และประสิทธิภาพในการเพิ่มความชุ่มชื้นผิวของสารสกัดจากเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์ไทย และเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์อินเดีย เพื่อคัดเลือกสารสกัดที่มีฤทธิ์ดีมาพัฒนาให้อยู่ในระบบนำส่งนาโนอีมัลชัน ทำการศึกษาโดยนำเมล็ดหมามุ่ยทั้ง 2 สายพันธุ์ มาสกัดด้วย 95% เอทานอล ด้วยวิธี Soxhlet จากนั้นทำการวิเคราะห์หาปริมาณฟีนอลิกรวม และฟลาโวนอยด์รวมของสารสกัด ทดสอบฤทธิ์ในการต้านออกซิเดชันของสารสกัดด้วยวิธีการทำลายอนุมูลอิสระดีพีพีเอช การวิเคราะห์ความสามารถในการรีดิวซ์เฟอร์ริกของสารต้านอนุมูลอิสระ และการศึกษาฤทธิ์ยับยั้งการเกิดเปอร์ออกซิเดชันของไขมัน ทำการศึกษาฤทธิ์ต้านริ้วรอย โดยวิเคราะห์ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไฮยารูโรนิเดส คอลลาจีเนส และอีลาสเทส นอกจากนี้ ยังทำการทดสอบคุณสมบัติให้ความชุ่มชื้นโดยใช้วิธี occlusion จากการทดลองพบว่าสารสกัดจากเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์อินเดียมีคุณสมบัติที่ดีกว่าสารสกัดเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์ไทย ซึ่งค่าการทดสอบฟีนอลิกรวมของสารสกัดจากเมล็ดสายพันธุ์อินเดียมีคุณสมบัติที่ดีกว่าสารสกัดเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์ไทย โดยมีค่าฟีนอลิกรวมเท่ากับ 252.96 ± 3.27 gallic acid/g extract และมีค่าฟลาโวนอยด์รวมเท่ากับ 734.82 28.48 mg quercetin/g extract ดังนั้นจึงเลือกใช้สารสกัดจากเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์อินเดีย เพื่อพัฒนาระบบนำส่งนาโนอีมัลชัน โดยนาโนอิมัลชันที่กักเก็บสารสกัด ประกอบด้วย สารสกัด 0.05% w/w วัฏภาคน้ำมัน (jojoba oil) 5 % w/w สารลดแรงตึงผิว 10% w/w (5% w/w Tween 80 และ 5% w/w Span 80) และวัฏภาคน้ำ เตรียมโดยใช้วิธี high shear homogenizer และ ultrasonication ผลการศึกษาพบว่าขนาดอนุภาค การกระจายตัวของขนาดอนุภาค และศักย์ไฟฟ้าซีตาของนาโนอิมัลชันที่กักเก็บสารสกัดเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์อินเดีย เท่ากับ 149.9 nm, 0.26, และ -32.69 mV นอกจากนี้ยังพบว่าร้อยละการกักเก็บสารสำคัญเท่ากับ 63.46% เมื่อทำการศึกษาการซึมผ่านผิวพบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 6 ชั่วโมง พบสารสกัดในเมมเบรนเท่ากับ 44.19% และจากการศึกษาความคงตัวที่อุณหภูมิห้อง และที่สภาวะร้อนสลับเย็น พบว่า ขนาดอนุภาค การกระจายตัวของขนาดอนุภาค และศักย์ไฟฟ้าซีตาไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับเริ่มต้น ดังนั้น นาโนอิมัลชันที่กักเก็บสารสกัดเมล็ดหมามุ่ยสายพันธุ์อินเดีย จึงมีศักยภาพที่จะนำไปต่อยอดในด้านเครื่องสำอางต่อไปen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641031037-Suwaporn Chookiat.pdf630.11 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.