Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79534
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPatcharawan Silthampitag-
dc.contributor.authorPattaraporn Buanpechen_US
dc.date.accessioned2024-06-19T10:42:21Z-
dc.date.available2024-06-19T10:42:21Z-
dc.date.issued2024-02-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79534-
dc.description.abstractObjective: This study aimed to investigate the antifungal effect against Candida albicans (ATCC® 10231) and the durability of chitosan oligosaccharide (COS) coated on heat-cured polymethylmethacrylate (PMMA) surface. Material and method: Heat-cured PMMA specimens were manufactured. The various concentrations of COS solution; 0.5 MFC, 1 MFC and 2 MFC, were prepared and applied on specimens treated surface with three different methods: sandblasting (SB), application of 3-aminopropyltriethoxysilane (APS), and combined both methods (SB&APS). The toothbrush abrasion test was done to evaluate the percentage of remaining COS. The antifungal effect was determined through a microbiological assay using specimen preparations of the groups with favorable results. A number of fungal colonies were recorded at 16 and 48 hours. Data were analyzed using two-way and one-way ANOVA (p < 0.05) Results: COS concentration and surface treatment affected coating durability. The groups that applied APS revealed a high percentage of COS and significantly differed from those that used only sandblasting. Coatings with 1 MFC and 2 MFC demonstrate no difference, but coatings with 0.5 MFC differ significantly from others. At 16 and 48 hours, the specimens coated with 1 MFC and 2 MFC by APS and SB&APS methods inhibited the growth of C.albicans while the uncoated group (control) demonstrate no inhibition. Conclusion: By using APS, COS can be coated onto PMMA. Coated PMMA inhibited the growth of C.albicans. With further development, this method could be applied to treat denture stomatitis alternatively to conventional antifungal drugs, which lead to drug resistance and taste alterations.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleAntifungal effect and durability of Chitosan Oligosaccharide coating on heat-cured Polymethylmethacrylate surfaceen_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพในการต้านเชื้อราและความคงทนของไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์เคลือบบนพื้นผิวโพลีเมธิลเมธาไครเลทชนิดบ่มด้วยความร้อนen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshChitosan-
thailis.controlvocab.lcshOligosaccharides-
thailis.controlvocab.lcshPolymethylmethacrylate-
thailis.controlvocab.lcshHeat-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการต้านเชื้อราและความคงทนของไคโตซานโอลิโก-แซคคาไรด์เคลือบบนพื้นผิวโพลีเมธิลเมธาไครเลทชนิดบ่มด้วยความร้อนที่ความเข้มข้นที่ต่างกัน วิธีดำเนินงานวิจัย : เตรียมชิ้นงานโพลีเมธิลเมธาไครเลทชนิดบ่มด้วยความร้อน เคลือบชิ้นงานด้วยสารละลายไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน (0.5 MFC 1 MFC และ 2 MFC) และมีการเตรียมพื้นผิวของชิ้นงานด้วยวิธีการที่ต่างกันสามวิธี ได้แก่ การพ่นทราย (Sandblasting: SB) การใช้สารคู่ควบไซเลนชนิดเอพีเอส (3-aminopropyltriethoxysilane: APS) และการใช้ทั้งสองวิธีการควบคู่กัน (SB+APS) จากนั้นนำชิ้นงานที่ผ่านการเคลือบไปทำการทดสอบการสึกจากการขัดสีด้วยแปรงสีฟัน (Toothbrush abrasion test) เพื่อหาร้อยละของไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ที่คงอยู่บนชิ้นงานแต่ละชิ้น จากนั้นชิ้นงานในกลุ่มที่มีร้อยละของไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ที่คงอยู่มากที่สุดจะถูกนำไปทดสอบประสิทธิภาพในการด้านเชื้อราแคนดิดา อัลบิแคนส์ (Candida albicans) ใช้การวิเคราะห์ทางจุลชีวิวิทยาโดยการนับจำนวนโคโลนีที่การทดสอบในช่วงเวลา 16 และ 48 ชั่วโมง ผลการวิจัย : จากการทดสอบทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-Way ANOVA) พบว่าความเข้มข้นของสารละลายไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ และวิธีการเตรียมพื้นผิวของชิ้นงานโพลีเมธิลเมธาไครเลทส่งผลต่อความคงทนของไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์บนชิ้นงาน โดยความเข้มข้น 0.5 MFC แสดงค่าร้อยละของไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ที่คงอยู่น้อยกว่าความเข้มข้น 1 MFC และ 2 MFC อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) และกลุ่มที่ได้รับการเตรียมพื้นผิวด้วย SB+APS แสดงค่าร้อยละของไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ที่คงอยู่มากที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่ม SB และ APS (p < 0.05) ผลทดสอบประสิทธิภาพในการต้านเชื้อราพบว่าชิ้นงานในกลุ่ม APS และ SB+APS สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราแคนดิดา อัลบิแคนส์ได้ทั้งความเข้มข้น 1 MFC และ 2 MFC ที่ช่วงเวลา 16 และ 48 ชั่วโมงเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้ทำการเคลือบพื้นผิวด้วยไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์และกลุ่มที่ทำการเคลือบผิวด้วยไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ที่ความเข้มข้น 0.5 MFC (p < 0.05) สรุปผล : การเคลือบพื้นผิวชิ้นงานโพลีเมธิลเมธาไครเลทด้วยไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแคนดิดา อัลบิแคนส์ได้ ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้สามารถเป็นแนวทางในการต่อยอดการผลิตสารต้านเชื้อราชนิดใหม่ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ฟันเทียมในขณะที่มีพยาธิสภาพ เพื่อใช้ทดแทนยาต้านเชื้อราแบบดั้งเดิมที่มีรายงานถึงการดื้อยาและการรบกวนการรับรสของผู้ป่วยen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630931023-Pattaraporn Buanpech.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.