Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79514
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Wantida Chaiyana | - |
dc.contributor.advisor | Terd Disayathanoowat | - |
dc.contributor.author | Sirawut Thewanjutiwong | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-17T17:40:48Z | - |
dc.date.available | 2024-06-17T17:40:48Z | - |
dc.date.issued | 2024-02-13 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79514 | - |
dc.description.abstract | Honey is utilized extensively in the culinary and cosmetic sectors. The quality of honey could be enhanced by a reduction in water quantity, which would make the aromatic water from this process a by-product or even waste. Therefore, this research aimed to utilize the honey aromatic water for the development of film-forming formulations. In addition, royal jelly was also used as an active ingredient. The suitable sterilization process for honey aromatic water has been investigated. Various polymers, including carboxymethyl cellulose (CMC), hydroxyethyl cellulose (HEC), and polyvinyl alcohol (PVA117), were used as polymers in the film-forming gel formulations. The gels were characterized based on their external appearance, viscosity, pH value, and drying time. After the successful formation of the film, each film was analyzed using a texture analyzer, microscopic investigation, X-ray diffractometer, and Fourier transform infrared. The findings revealed that despite honey aromatic water having a limited shelf life, sterilization processes, both filtration and autoclaving, were successful in preventing microbial contamination. Furthermore, the film-forming formulations. The most suitable film-forming gel, developed using the combination of CMC, HEC, and PVA117, was successfully incorporated with honey aromatic water, and royal jelly. A mild acidity of honey aromatic water led to a reduction in gel viscosity and the mechanical properties of its film. Notably, the drying time significantly decreased from 73.3 ± 1.2 min to 47.7 ± 0.6 min when applied on a glass slide and from 19.4 ± 0.6 min to 17.4 ± 0.1 min when applied on piglet skin, making it more suitable for use as a peel-off mask. In contrast to the honey aromatic water, the incorporation of royal jelly enhanced the viscosity and improved the mechanical properties of the film, resulting in a significant decrease in drying time at lower concentrations. Macroscopic examinations revealed irregular air gaps in the film from the gel containing honey aromatic water, a challenge addressed by the incorporation of royal jelly. Importantly, both honey aromatic water and royal jelly had no impact on the chemical and crystal structure of the films. In conclusion, film-forming gels containing honey aromatic water and royal jelly are suitable for use as peel-off masks, exhibiting favorable aesthetic qualities in both the gel and their films. The application of honey aromatic water would increase its value and enhance the overall appeal in cosmetic products. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | film-forming gel | en_US |
dc.subject | polymers | en_US |
dc.subject | royal jelly | en_US |
dc.subject | honey | en_US |
dc.subject | aromatic water | en_US |
dc.subject | cosmetic | en_US |
dc.subject | sterilization | en_US |
dc.title | Development of film-forming formulations containing royal jelly and honey aromatic water for cosmetic applications | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาระบบก่อฟิล์มที่มีนมผึ้งและน้ำปรุงจากน้ำผึ้งเพื่อใช้ในทางเครื่องสำอาง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Honey | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Royal jelly | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Bee products | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Cosmetics | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | น้ำผึ้งถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทั้งในด้านอาหารและเครื่องสำอาง โดยสามารถเพิ่มคุณภาพของน้ำผึ้งได้ด้วยกระบวนการลดปริมาณน้ำในน้ำผึ้ง ซึ่งจะทำให้เกิดน้ำปรุงที่เป็นผลพลอยได้หรือบางครั้งอาจต้องกำจัดทิ้งเป็นของเสียจากอุตสาหกรรมน้ำผึ้ง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้น้ำปรุงจากน้ำผึ้งเพื่อพัฒนาตำรับก่อฟิล์ม นอกจากนี้ ยังใช้นมผึ้งเป็นสารออกฤทธิ์ในตำรับดังกล่าวอีกด้วย ซึ่งได้ศึกษากระบวนการฆ่าเชื้อที่เหมาะสมสำหรับน้ำปรุงจากน้ำผึ้ง ในการพัฒนาตำรับเจลก่อฟิล์มได้ใช้พอลิเมอร์ หลายชนิด ได้แก่ คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส ไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส และโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ ในการศึกษาคุณลักษณะของตำรับก่อเจลฟิล์ม ได้ทำการประเมินลักษณะภายนอก ความหนืด ค่าความเป็นกรดด่าง และเวลาในการแห้งของเจล หลังจากการก่อฟิล์มสำเร็จ จะทำการวิเคราะห์แผ่นฟิล์มที่เกิดขึ้น โดยใช้เครื่องวิเคราะห์ลักษณะเนื้อสัมผัสและกล้องจุลทรรศน์ วิเคราะห์การเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ด้วยเทคนิคเอกซเรย์ดิฟแฟรกชัน และวิเคราะห์หาโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์โดยใช้เทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโคปี ซึ่งผลการวิจัยพบว่าแม้น้ำปรุงจากน้ำผึ้งจะมีอายุการเก็บรักษาที่จำกัด แต่กระบวนการฆ่าเชื้อทั้งการกรองและการนึ่งฆ่าเชื้อก็สามารถป้องกันการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ได้ นอกจากนี้สูตรเจลก่อฟิล์มที่เหมาะสมที่สุดซึ่งพัฒนาโดยใช้ส่วนผสมของคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส ไฮดรอกซีเอทิลเซลลูโลส และโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ สามารถผสมกับน้ำปรุงจากน้ำผึ้งและนมผึ้งได้สำเร็จ ความเป็นกรดอ่อนของน้ำปรุงจากน้ำผึ้งทำให้ความหนืดของเจลและคุณสมบัติเชิงกลของฟิล์มลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เวลาในการทำให้แห้งลดลงอย่างมีนัยสำคัญจาก 73.3 ± 1.2 นาที เป็น 47.7 ± 0.6 นาที เมื่อทาบนกระจกสไลด์ และจาก 19.4 ± 0.6 นาที เป็น 17.4 ± 0.1 นาที เมื่อทาบนผิวหนังลูกหมู ทำให้มีความเหมาะสมสำหรับใช้เป็นมาส์กหน้าแบบลอกออก ซึ่งการผสมนมผึ้งในตำรับให้ผลตรงกันข้ามกับน้ำปรุงจากน้ำผึ้ง โดยนมผึ้งมีผลช่วยเพิ่มความหนืดและปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของฟิล์ม ส่งผลให้ระยะเวลาในการแห้งลดลงอย่างมีนัยสำคัญที่ความเข้มข้นต่ำ การประเมินแผ่นฟิล์มด้วยตาเปล่าเผยให้เห็นฟองอากาศรูปร่างไม่แน่นอนในฟิล์มจากตำรับเจลก่อฟิล์มที่ประกอบด้วยน้ำปรุงจากน้ำผึ้ง ซึ่งเมื่อผสมนมผึ้งในตำรับจะสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ ที่สำคัญทั้งน้ำปรุงจากน้ำผึ้งและนมผึ้งไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างทางเคมีและผลึกของแผ่นฟิล์ม ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า เจลก่อฟิล์มที่ประกอบด้วยน้ำปรุงจากน้ำผึ้งและนมผึ้งเหมาะที่จะใช้เป็นมาส์กหน้าแบบลอกออก ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่สวยงามน่าใช้ในตำรับเจลก่อฟิล์มและแผ่นฟิล์มที่เกิดขึ้น ซึ่งการใช้น้ำปรุงจากน้ำผึ้งจะช่วยเพิ่มมูลค่า ทั้งยังสามารถเพิ่มความน่าสนใจในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่พัฒนาขึ้นอีกด้วย | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651031018-Sirawut Thewanjutiwong.pdf | 828.79 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.