Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79497
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดุษฎี ประเสริฐธิติพงษ์ | - |
dc.contributor.advisor | วิจักษณ์ ศรีสัจจะเลิศวาจา | - |
dc.contributor.author | ปณิธิ พันธุ์วุฒิ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-06-17T09:14:00Z | - |
dc.date.available | 2024-06-17T09:14:00Z | - |
dc.date.issued | 2567-01-19 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79497 | - |
dc.description.abstract | The object of this study is to develop a self-service system for the Teaching and Learning Innovation Center at Chiang Mai University using multi-class text classification technique. This study employed an imbalanced Thai dataset and followed the standard machine learning pipeline of data preparation, model training, model evaluation, and review model. Different models were utilized to evaluate their performance and accuracy in solving the problem at hand. The results findings indicate that the use of TF-IDF with Multi-Layer Perceptron produced the most accurate and effective results for their dataset. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ตัวแบบการจำแนกข้อความแบบหลายคลาสด้วยชุดข้อมูลที่ไม่สมดุลในการพัฒนาระบบบริการตนเอง สำหรับศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Multi-class text classification models from Imbalanced datasets for self-service system development in teaching and Learning Innovation center in Chiang Mai University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ชุดข้อมูล | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้อความ -- การจำแนก | - |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวแบบการจำแนกข้อความแบบหลายคลาสด้วยชุดข้อมูลที่ไม่สมดุลในการพัฒนาระบบบริการตนเอง สำหรับศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยดำเนินการตามกระบวนการเรียนรู้ของเครื่อง ได้แก่ การเตรียมข้อมูล การฝึกตัวแบบ การประเมินตัวแบบ และการตรวจสอบตัวแบบ โดยใช้ตัวแบบต่าง ๆ เพื่อประเมินประสิทธิภาพและความแม่นยำในการแก้ไขปัญหาของศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ ผลการวิจัยแสดงว่าการใช้ TF-IDF ร่วมกับ Multi-Layer Perceptron เป็นกระบวนการที่มีความแม่นยำที่สุดสำหรับชุดข้อมูลภาษาไทยที่ไม่สมดุลในการจำแนกข้อความนี้ งานวิจัยนี้เน้นความสำคัญของการเลือกตัวแบบที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาการจำแนกข้อความโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการจัดการกับชุดข้อมูลที่ไม่สมดุล ตัวแบบที่ได้ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้เป็นกรอบการทำงานสำหรับระบบบริการตนเองในสถาบันการศึกษาอื่นๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานระบบโดยรวม และผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางสำหรับการพัฒนาตัวแบบการจำแนกข้อความในภาษาไทยต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
632832010 - ปณิธิ พันธุ์วุฒิ.pdf | ตัวแบบการจำแนกข้อความแบบหลายคลาสด้วยชุดข้อมูลที่ไม่สมดุลในการพัฒนาระบบบริการตนเอง สำหรับศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | 910.13 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.