Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79479
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Ora-orn Poocharoen | - |
dc.contributor.advisor | Samuel Amponsah Od | - |
dc.contributor.advisor | Supanika Leurcharu | - |
dc.contributor.author | Hu, Haisheng | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-05-29T07:33:09Z | - |
dc.date.available | 2024-05-29T07:33:09Z | - |
dc.date.issued | 2024-02-23 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79479 | - |
dc.description.abstract | The Rapid development of internet technologies brings changes to people’s daily life, as well as changes to government management, including citizens’ participation in public affairs. This research focused on citizens’ participation in public policy in the online environment. Specifically, after the summary of previous studies related to public policies and public participation, this research takes the formulation of the Chinese education policy through the online public opinion as an example to collect the relevant information through the questionnaire survey to explain the impact of Internet public opinion (cognitive level, expectation perception and social attitude) on public policy formulation (government openness and government transparency) with the consideration of the intermediary role of policy perception and citizen participation. Based on the quantitative analysis, namely reliability analysis, validity analysis, correlation analysis, and path analysis under the Structural Equation Model (SEM) using SPSS and Amos, the main findings are as follows: Cognitive level and expectation make the positive impact on both government openness and government transparency, while social attitude only makes the positive impact on government openness but not government transparency. Still, both policy perception and citizen participation play moderator roles in the process of cognitive level making positive impacts on government openness but not government transparency. g Furthermore, combining both the empirical findings and the excellent experiences from other countries in this field, this research proposed to make efforts in the following aspects for further improvements, including strengthening the infrastructure construction and balancing information resources, perfecting the e-government platform and strengthening e-government functions, building the more comprehensive management mechanism of online public opinion, guiding the online public opinion and realizing the standardized working process, providing legislative guarantee and still technical support of online participation; and improving citizens’ political literacy of and guiding citizens’ moral compliance. | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Online participation in the policy process: A Study of education policy in China | en_US |
dc.title.alternative | การมีส่วนร่วมทางออนไลน์ในกระบวนการนโยบายสาธารณะ: นโยบายการศึกษาของประเทศจีน | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Public policy -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Education -- China | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Educational change -- China | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจำวันของคน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในการบริหารจัดการของรัฐบาล ตลอดจนการมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมสาธารณะ งานวิจัยนี้ศึกษาการมีส่วนร่วมทางออนไลน์ของภาคประชาชนในประเด็นด้านนโยบายสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากการสรุปผลการศึกษาก่อนหน้านี้ที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะและการมีส่วนร่วมของประชาชน งานวิจัยนี้ได้นำนโยบายการศึกษาของจีนมาสะท้อนผ่านความคิดเห็นสาธารณะทางออนไลน์ เพื่อเป็นตัวอย่างในการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องผ่านการสำรวจแบบประเมินความคิดเห็น และอภิปรายผลกระทบของความคิดเห็นทางอินเทอร์เน็ต (ระดับการรับรู้, การรับรู้ ความคาดหวัง และทัศนคติทางสังคม) ต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ (การเปิดกว้างของรัฐบาล และความโปร่งใสของรัฐบาล) โดยพิจารณาถึงบทบาทที่เป็นกลางของการรับรู้นโยบายและการมีส่วนร่วมของประชาชน ผ่านการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เช่น การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ การวิเคราะห์ความถูกต้อง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์เส้นทางภายใต้โมเดลสมการโครงสร้าง (SEM) โดยใช้ SPSS และ Amos ซึ่งผลลัพธ์หลัก ของงานวิจัยมีดังนี้ คือ ระดับการรับรู้และคาดหวังมีผลกระทบเชิงบวกทั้งในด้านการเปิดกว้างของรัฐบาลและความโปร่งใสของรัฐบาล อย่างไรก็ตามทั้งการรับรู้นโยบายและการมีส่วนร่วมของประชาชนมีบทบาทเป็นผู้ดูแลในกระบวนการระดับความรู้ความเข้าใจ ซึ่งส่งผลกระทบเชิงบวกต่อการเปิดกว้างของรัฐบาลแต่ไม่ใช่ความโปร่งใสของรัฐบาล นอกจากนี้การค้นพบโดยรวมจากการศึกษาประสบการณ์ที่ดีจากประเทศอื่น ๆ ในสาขานี้งานวิจัยนี้ได้ให้ข้อเสนอเกี่ยวกับความพยายามในด้านต่อไปนี้เพื่อปรับปรุงเพิ่มเติม ได้แก่ การเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานและสมดุลด้านทรัพยากรข้อมูล การปรับปรุงแพลตฟอร์ม e-government และการเสริมความสามารถของรัฐบาลทางออนไลน์ การสร้างกลไกการจัดการความคิดเห็นของประชาชนทางออนไลน์ที่มีความครอบคลุมมากขึ้น การแนะนำข้อคิดเห็นทางออนไลน์และการทำงานในกระบวนการที่มีมาตรฐาน การให้การรับรองทางกฎหมายและสนับสนุนเทคนิคสำหรับการมีส่วนร่วมทางออนไลน์ การพัฒนาองค์ความรู้ทางการเมืองแก่ประชาชน และการชี้แนะเพื่อปฏิบัติตามจริยธรรมของพลเมือง | en_US |
thesis.conceal | 3 years | en_US |
Appears in Collections: | SPP: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
632555806 - Haisheng Hu.pdf | 4.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.