Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79464
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChu, Ta-wei-
dc.contributor.advisorMukdawan Sakboon-
dc.contributor.authorMuhammad Khalid Wardanaen_US
dc.date.accessioned2024-05-13T00:41:19Z-
dc.date.available2024-05-13T00:41:19Z-
dc.date.issued2024-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79464-
dc.description.abstractThe Thai assimilation policies in the Deep South of Thailand compromised the Malay Muslim identity (afterwards will be called only “Malay Muslim”). Since the policies compromised their Malay Muslim ethnic identity, resentment grew and later become one of the factors of the insurgency in the Deep South. This thesis aims to answer the following questions: (1) to what extent is the impact of the Thai assimilation policies on the Malay Muslim local identity? (2) What is the perspective of the Malay Muslims on the insurgency and the government’s attempt to solve the issue? and (3) What are the strategies the Malay Muslims use to negotiate their identity amidst the insurgency? This thesis argued that Thailand’s national identity is contested with the pre-existed local Malay Muslim identity in the Deep South. The Malays are determined to instrumentalize their identity mainly in the socio-cultural and political movement. Nonetheless, the Thai government has been successful in assimilating the Malays at some degrees. The analytical framework of this thesis are three theories: Assimilation theory from Simons (1901) and Gellner (1983), print-capitalism from Anderson (2006), and entropy-resistant by Gellner (1983). Simons (1901) assimilation theory is used to identify the actors of assimilation and Gellner (1983) to identify the degree of assimilation. Print capitalism from Anderson (2006) is used to explore and analyse the instrument used by both Thai and Malay to assimilate or to resist the assimilation. Lastly, Gellner (1983) entropy resistant concept is used to understand the persistence of the Malay Muslims against the Thai assimilation policies. This study employs a qualitative approach by conducting interviews and on-site field observation in three provinces of Pattani, Yala, and Narathiwat. There are three main findings corresponding to the research questions in the thesis. First, the impact of assimilation is in two main aspects: language and self-identification. The Malay youth who live in the urban area assimilate more than the rural area. Departing from the language impact, the Malays who are assimilated slowly consider themselves more as Thai Muslim rather than Malay Muslim. The second finding is the Malay Muslims perceive the insurgency in a mixed yet dynamic reaction. For them, insurgents cause a feeling of insecurity, especially for those who live in rural area. In addition, insurgents also perpetuate the sense of dual threats from the insurgents and Thai security agencies. The Malay Muslims also hope for the peace, and consider the government progress to solve the insurgency is delayed due to the parallel approach (civilian and military) which creates a non-cohesive process. The third finding is the way Malay Muslims resist assimilation. The Malay Muslims manage to keep their ethnic identity alive by two main channels: political and cultural. The Malay Muslim political involvement in the Thailand central political milieu and creation of civil society organisation is useful to elevate their issues into national level. In the political milieu, the Malay Muslims try to negotiate their social and political stance with Thai government institutions such as the Southern Border Provincial Administrative Centre (SBPAC) and National Reconciliation Commission (NRC). The creation of cultural channels such as events, social media, and buildings also reaffirm the sense of Malay nationalism that counter the Thai assimilation policies. The findings also suggest an alternative approach to address the insurgency issues by focusing more on the social and cultural approach. Since the root of the insurgency also puts identity as the motivation, emphasizing the Malay Muslim social and cultural privilege in the three provinces has the potential to curb the motivation of the insurgents. However, implementing the Malay privilege in the Deep South also must be reasonable by considering other ethnicities living in the area such as the Thai and Chinese ethnics. Nevertheless, Malay cultural approach needs a crucial change in the central Thai government politics as the concept of Malay privilege, if understood wrongly, could cause a tension from the government.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectMalay Muslim, Deep South, Assimilation Policies, Southern Thai Insurgencyen_US
dc.title“We are not Thai Muslim”: The negotiation of Malay muslim identity with Thai national identity in Thailand’s deep southen_US
dc.title.alternative"เราไม่ใช่คนไทยมุสลิม": การต่อรองอัตลักษณ์มาเลย์มุสลิมกับ อัตลักษณ์ชาติไทยในพื้นที่ชายแดนใต้สุดของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshMuslims -- Malaysia-
thailis.controlvocab.lcshMuslims -- Thailand, Southern-
thailis.controlvocab.lcshIdentity (Philosophical concept)-
thailis.controlvocab.lcshEthnicity-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractนโยบายการกลืนกลายของไทยในพื้นที่ชายแดนใต้สุดของประเทศ ส่งผลกระทบต่ออัตลักษณ์มาเลย์มุสลิม (ซึ่งต่อนี้ไปเรียกว่า “มาเลย์มุสลิม”) ผลกระทบของนโยบายดังกล่าว ทาให้เกิดกระแสความไม่พอใจเพิ่มขึ้นและต่อมาได้กลายเป็นปัจจัยหนึ่งของการก่อความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนใต้สุด วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ตั้งคาถามเพื่อศึกษาประเด็นสาคัญ 3 ประการ คือ 1) ผลกระทบของนโยบายกลืนกลายของไทย ที่มีต่ออัตลักษณ์มาเลย์มุสลิมท้องถิ่น 2) มุมมองของคนมาเลย์มุสลิมต่อการก่อความไม่สงบและความพยายามในการแก้ปัญหาของรัฐบาล 3) กลยุทธ์ที่คนมาเลย์มุสลิมใช้ในการต่อรองอัตลักษณ์ของกลุ่มตนภายใต้บริบทของการก่อความไม่สงบ วิทยานิพนธ์นี้เสนอข้อโต้แย้งหลักว่าเกิดการโต้แย้งอัตลักษณ์แห่งชาติไทยกับอัตลักษณ์มาเลย์มุสลิมท้องถิ่นที่ดารงอยู่ในพื้นที่ชายแดนใต้สุดของประเทศ ซึ่งคนมาเลย์มีความตั้งใจที่จะนาอัตลักษณ์ของกลุ่มตนมาใช้เป็นเครื่องมือในการเคลื่อนไหวทางด้านสังคม วัฒนธรรม และการเมือง อย่างไรก็ตาม รัฐไทยถือได้ว่าประสบความสาเร็จบางระดับในการผสมกลมกลืนคนมาเลย์มุสลิม วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้ทฤษฎี 3 ทฤษฎีเป็นกรอบในการวิเคราะห์ ได้แก่ ทฤษฎีการกลืนกลาย (Assimilation theory) ของ Simon (1901) แนวคิดสื่อสิ่งพิมพ์-ทุนนิยม (Print Capitalism) โดย Anderson (2006) และ entropy-resistant โดย Gellner (1983) ทั้งนี้ ทฤษฎีการกลืนกลายใช้ในการระบุตัวแสดงหลักในนโยบายการกลืนกลาย ในขณะที่แนวคิดสิ่งพิมพ์-ทุนนิยมใช้สารวจและวิเคราะห์เครื่องมือที่ทั้งรัฐไทยและคนมาเลย์ใช้ในการกลืนกลายหรือการต่อต้าน สาหรับแนวคิดสุดท้ายของ Gellner ใช้เพื่อทาความเข้าใจการดารงอยู่ของคนมาเลย์มุสลิมในการต่อต้านนโยบายการกลืนกลายของรัฐไทย การศึกษาใช้แนวทางเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ข้อค้นพบสาคัญสามประการของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้แก่ ประการแรก นโยบายกลืนกลายส่งผลกระทบต่อแง่มุมสาคัญสองด้านคือ ภาษา และสิทธิในการกาหนดอัตลักษณ์ตนเอง (self-identification) เยาวชนมาเลย์ที่อาศัยในเขตเมืองมีการกลืนกลายมากกว่าคนที่อาศัยในเขตชนบท ทั้งนี้คนมาเลย์ที่ได้รับการกลืนกลายค่อยๆยอมรับอัตลักษณ์การเป็นคนไทยมุลลิมมากกว่าเป็นคนมาเลย์มุสลิม ประการที่สอง คนมาเลย์มุสลิมมีมุมมองที่เป็นพลวัต ต่อการก่อความไม่สงบ สาหรับพวกเขา กลุ่มก่อความไม่สงบทาให้เกิดความรู้สึกไม่มั่นคง โดยเฉพาะต่อคนที่อาศัยอยู่ในชนบท นอกจากนี้ ยังทาให้เกิดความรู้สึกถึงภัยคุกคามสองด้าน ทั้งจากกลุ่มก่อความไม่สงบ และจากหน่วยงานรัฐไทย คนมาเลย์มุสลิมมีความหวังต่อสันติภาพ แต่ก็เห็นว่าความก้าวหน้าในการแก้ปัญหาของรัฐบาลนั้นต้องล่าช้าเพราะการใช้มาตรการสองด้านพร้อมกันคือ ด้านพลเรือนและด้านการทหาร ซึ่งทาให้เกิดกระบวนการการแก้ปัญหาที่ไม่สอดคล้องเป็นหนึ่งเดียวกัน ข้อค้นพบประการที่สาม เกี่ยวกับการต่อต้านการกลืนกลาย โดยที่คนมาเลย์มุสลิมยังคงรักษาอัตลักษณ์ของกลุ่มตนไว้ได้ ผ่านช่องทางสาคัญสองช่องทางคือ ทางการเมืองและวัฒนธรรม การมีส่วนร่วมทางการเมืองของคนมาเลย์มุสลิมในแวดวงการเมืองหลักของประเทศไทย ตลอดจนการสร้างองค์กรภาคประชาสังคมของกลุ่ม เป็นสิ่งที่ช่วยในการยกระดับประเด็นของกลุ่มให้กลายเป็นประเด็นระดับชาติ ในด้านการเมืองนั้น คนมาเลย์มุสลิมพยายามต่อรองจุดยืนทางสังคมและการเมืองกับสถาบันของทางการไทย เช่น ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และคณะกรรมการปรองดองแห่งชาติ นอกจากนี้ การสร้างช่องทางสื่อสารทางวัฒนธรรม เช่นการจัดกิจกรรม การใช้สื่อสังคมออนไลน์ ตลอดจนสถาปัตยกรรม ยังมีส่วนช่วยส่งเสริมจิตสานึกชาตินิยมมาเลย์ซึ่งต่อต้านนโยบายกลืนกลายของไทย ข้อค้นพบของการศึกษายังได้นาเสนอแนวทางเลือกในการจัดการประเด็นการก่อความไม่สงบ โดยการให้ความสาคัญกับแนวทางทางสังคมและวัฒนธรรม เนื่องจากรากเหง้าของปัญหามีแรงกระตุ้นจากประเด็นเชิงอัตลักษณ์ ดังนั้น การเน้นย้าให้ความสาคัญต่ออัตลักษณ์มาเลย์มุสลิมในทางสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้สุดของประเทศ จะมีส่วนช่วยป้องกันแรงจูงใจในการก่อความไม่สงบได้ อย่างไรก็ตามการให้ความสาคัญต่อคนมาเลย์ในพื้นที่ชายแดนใต้สุดนี้ จักต้องกระทาด้วยความระมัดระวังรอบคอบ โดยคานึงถึงความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์อื่นที่ร่วมอาศัยอยู่ในพื้นที่ด้วย เช่น คนไทย และคนจีน และหากขาดการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดความตึงเครียดในศูนย์กลางทางการเมืองของรัฐได้en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630435822-Muhammad-Khalid-Wardana.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.