Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพร ชินชัย-
dc.contributor.authorอัจฉพันธ์ เรืองสุขen_US
dc.date.accessioned2024-05-08T10:06:31Z-
dc.date.available2024-05-08T10:06:31Z-
dc.date.issued2024-01-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79460-
dc.description.abstractThis research aimed to develop the Aphasia Screening Test for screening aphasia problems in patients with cerebrovascular disease. The tool has a content validity index ranging from 0.80 to 1.00. It was experimentally used with three patients diagnosed by a physician as having cerebrovascular disease and without aphasia problem. After adjusting based on feedback, the complete version of the screening tool was then used to examine the validity and reliability properties of the instrument within a sample group of 28 patients diagnosed with cerebrovascular disease. Dividing into individuals with aphasia (14 people) and those without (14 people), the test results revealed sensitivity and specificity of 96.30% and 69%, respectively. The cutoff point was found at 43 points, with the highest Youden’s index being 65.30%. The tool demonstrates high accuracy, with a phi correlation coefficient 0.67 from statistical analysis. The construct validity, analyzed using the Mann-Whitney U test, revealed a statistically significant difference in scores between both groups (p < 0.001), indicating the ability to distinguish patients with cerebrovascular disease who have aphasia from those without aphasia. Furthermore, the inter-rater reliability was assessed using Pearson's correlation coefficient (r=0.99), indicating an excellent level of agreement. Additionally, the internal consistency was evaluated using Cronbach's alpha coefficient, yielding a value of 0.97 (95% CI, 0.95-0.98), which is considered excellent. In conclusion, the Aphasia Screening Test demonstrates validity and reliability and is suitable for clinical use in screening aphasia in patients with cerebrovascular disease.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแบบคัดกรองภาวะเสียการสื่อความen_US
dc.title.alternativeDevelopment of aphasia screening testen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรคหลอดเลือดสมอง-
thailis.controlvocab.thashโรคหลอดเลือดสมอง -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashภาวะเสียการสื่อความ-
thailis.controlvocab.thashความบกพร่องทางภาษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบคัดกรองภาวะเสียการสื่อความ สำหรับใช้ในการคัดกรองภาวะเสียการสื่อความในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง มีค่าความตรงเชิงเนื้อหารายข้ออยู่ระหว่าง 0.80-1.00 ทำการทดลองใช้เครื่องมือกับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองและไม่มีภาวะเสียการสื่อความ จำนวน 3 คน ทำการปรับแก้ไขตามข้อคิดเห็นแล้วจึงนำแบบคัดกรองภาวะเสียการสื่อความฉบับสมบูรณ์ไปตรวจสอบคุณสมบัติทางการวัดของเครื่องมือด้านความตรงและความเที่ยงในกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคหลอดเลือดสมองจำนวน 28 คน แบ่งเป็นผู้มีภาวะเสียการสื่อความ 14 คน และผู้ที่ไม่มีภาวะเสียการสื่อความ 14 คน ผลการทดสอบพบว่า มีค่าความไวและความจำเพาะ (sensitivity and specificity) ร้อยละ 96.30 และ 69 ตามลำดับ มีจุดตัดอยู่ที่ 43 คะแนน โดยที่มีค่า Youden’s index สูงที่สุดคือ 65.30 มีค่าความตรงเชิงสภาพสูง (concurrent validity) จากการวิเคราะห์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์ phi เท่ากับ 0.67 ค่าความตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Mann-Whitney U test พบว่า คะแนนของทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการคัดแยกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะเสียการสื่อความออกจากผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ไม่มีภาวะเสียการสื่อความได้ นอกจากนี้ หาค่าความเที่ยงระหว่างผู้ประเมิน (inter-rater reliability) โดยวิเคราะห์ทางสถิติด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในชั้น (r=0.99) มีความสอดคล้องกันในระดับดีมาก และหาค่าความสอดคล้องภายในโดยการวิเคราะห์ด้วย Cronbach’s alpha coefficient พบว่ามีค่าเท่ากับ 0.97 (95% CI, 0.95-0.98) ซึ่งถือได้ว่าอยู่ในระดับดีมาก สามารถสรุปได้ว่าแบบคัดกรองนี้มีคุณสมบัติทางการวัดทั้งในด้านความตรงและความเที่ยง จึงมีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ในทางคลินิกเพื่อคัดกรองภาวะเสียการสื่อความในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621131009-อัจฉพันธ์ เรืองสุข.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.