Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79433
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSompop Moonchai-
dc.contributor.advisorThaned Rojsiraphisal-
dc.contributor.advisorThanasak Mouktonglang-
dc.contributor.authorChalida Kongsanunen_US
dc.date.accessioned2024-05-03T00:46:06Z-
dc.date.available2024-05-03T00:46:06Z-
dc.date.issued2024-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79433-
dc.description.abstractSpatio-temporal geostatistical modeling constitutes a challenge within diverse scientific and engineering disciplines. This dissertation proposes a novel modification of spatial kriging called spatio-temporal dual kriging (ST-DK), incorporating trend functions into three coefficient types: fixed coefficient, adaptive coefficient, and adaptive coefficient with Kalman filter. The adaptive coefficients are estimated using a Kalman filter, enabling the model to capture complex spatio-temporal dynamics. Furthermore, in order to illustrate the efficacy of the proposed technique, ST-DK is compared with the classical spatio-temporal regression kriging (ST-RK) method for temperature and air pressure data estimation across Thailand in year 2017. The results reveal that both ST-DK and ST-RK employed adaptive coefficient and adaptive coefficient with Kalman filter outperform these two methods using fixed coefficient counterparts for air pressure data. Additionally, the ST-DK model consistently exhibits superior performance comparing to the ST-RK model in air pressure estimation.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleModified spatio-temporal interpolation algorithm using a combination of Kriging method and Kalman filteren_US
dc.title.alternativeขั้นตอนวิธีการประมาณค่าในช่วงเชิงพื้นที่และเวลาแบบดัดแปรโดยใช้วิธีคริกกิงร่วมกับตัวกรองคาลแมนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSpatial data infrastructures-
thailis.controlvocab.lcshSpatial analysis (Statistics) -- Data processing-
thailis.controlvocab.lcshGeology-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการสร้างแบบจำลองทางธรณีสถิติเชิงพื้นที่และเวลาถือเป็นความท้าทายทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์นี้ได้นำเสนอส่วนการพัฒนาของวิธีคริกกิงคู่กันเรียกว่าวิธีคริกกิงคู่กันเชิงพื้นที่และเวลาด้วยการใช้ฟังก์ชันแนวโน้มสามแบบ ได้แก่ สัมประสิทธิ์แบบคงที่ สัมประสิทธิ์แบบปรับได้ และสัมประสิทธิ์แบบปรับได้โดยใช้ตัวกรองคาลแมน สัมประสิทธิ์แบบปรับได้ที่ถูกประมาณโดยใช้ตัวกรองคาลแมนช่วยในการอธิบายพลวัตเชิงพื้นที่และเวลาที่ซับซ้อนได้ นอกจากนี้เพื่อแสดงถึงประสิทธิภาพของวิธีที่ได้นำเสนอ วิธีคริกกิงแบบคู่กันถูกเปรียบเทียบกับวิธีคริกกิงแบบถดถอยเชิงพื้นที่และเวลาสำหรับการประมาณค่าข้อมูลอุณหภูมิและความดันอากาศของประเทศไทยในปี ค.ศ. 2017 ผลการวิจัยพบว่าวิธีคริกกิงคู่กันเชิงพื้นที่และเวลาและวิธีคริกกิงแบบถดถอยเชิงพื้นที่และเวลาที่มีสัมประสิทธิ์แบบปรับได้และสัมประสิทธิ์แบบปรับได้โดยใช้ตัวกรองคาลแมนมีประสิทธิภาพสูงกว่าสัมประสิทธิ์แบบคงที่สำหรับข้อมูลความดันอากาศ นอกจากนี้วิธีคริกกิงคู่กันเชิงพื้นที่และเวลายังแสดงประสิทธิภาพดีกว่าเมื่อเทียบกับวิธีคริกกิงแบบถดถอยเชิงพื้นที่และเวลาในการประมาณค่าความดันอากาศen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610551012-CHALIDA KONGSANUN.pdf12.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.