Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79336
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Decha Thapanya | - |
dc.contributor.advisor | Siripen Traichaiyaporn | - |
dc.contributor.advisor | Chalobol Wongsawad | - |
dc.contributor.author | Pornpimon Buntha | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-13T09:47:19Z | - |
dc.date.available | 2023-12-13T09:47:19Z | - |
dc.date.issued | 2022-05-17 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79336 | - |
dc.description.abstract | In the upper part of Nan River, macro-filamentous green algae (genera Cladophora and Rhizoclonium, collectively "Kai" in the vernacular) are usually found in the cobble habitat in the cool season. Caddisfly larvae (Trichoptera) also live in the cobble habitat. Therefore, objectives in this study are as follows; 1) to find out influences of Kai algae on caddisfly larval communities and 2) to study a role of the algae on caddisflies in families Hydropsychidae and Hydroptilidae in term of food resources. Eight study sites in the Thung Chang to Chiang Klang Districts were determined for this study. Samples were collected once a month during January 2017 to December 2018. In the first part of methods, two areas were determined per a study site included Control (CT) and Kai algal blooming (KB) areas during Kai algal blooming period. Less than 20% of Kai algae covering on cobbles within a Surber sample were a Control area. More than 80% of Kai algae covering on cobbles within the Surber sample were a Kai algal blooming area. Kai algal and caddisfly larval samples were collected within 25x25 cm2 of the Surber sample equipment, 10 replicates per one area. In the second part of methods, Hydropsychidae and Hydroptilidae larvae were brought to study about eating behaviors with fresh Kai algae and food items in their foreguts. In the third part of methods, physicochemical factors of air and water temperature, water velocity, pH, electrical conductivity (EC), total dissolved solids (TDS), dissolved oxygen (DO), biochemical oxygen demand (BOD5), water hardness, ammonia nitrogen (NH3-N), nitrate nitrogen (NO3-N) and orthophosphate (PO43-) in the Nan River were measured once a month. Thirteen and fifteen families of caddisfly larvae were found in the CT and KB areas, respectively. Number of families of caddisfly larvae in the KB areas were significantly higher than the larvae from CT areas at p< 0.05. Densities of caddisfly larvae in 13 families from the KB areas were significantly higher than the CT areas. These results indicated Kai algae had positive effects to 13 families of caddisfly larvae. Kai algal eating behaviors were found in Hydropsychidae and Hydroptilidae larvae. Hydropsychidae larvae ate fresh filaments of Kai. Hydroptilidae larvae ate cell fluids of fresh Kai algae. Food items in 18 Hydropsychidae larval foreguts from CT areas were 4 types by area included 44.66% of Kai algae (KA), 32.18% of other items such as plant and insect remain (OI), 22.17% of diatoms (DT) and 0.46% of other filamentous algae (OFA). Food items in 18 Hydropsychidae larval foreguts from KB areas were also 4 types by area included 78.13% of KA, 14.49% of DT. 3.72% of OI and 3.65% of OFA. Proportion of KA type in the larval foreguts from the both areas was higher than other food item types. Proportional comparison about the same food types in the larval foreguts from the CT areas with KB areas found that proportions of KA and OFA types in the larval foreguts from the KB areas were significantly higher than the CT areas. But proportions of DI and OI types in the larval foreguts from the CT areas were significantly higher than KB areas. The results showed that Kai algae were important food sources for these larvae. Environmental factors in the Nan River, included water temperature, pH, EC. TDS, turbidity and water hardness associated with occurrences of caddisfly larvae. This study found that the environmental factors in the Nan River during the cool season to the summer were suitable for living of caddisfly larvae. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Caddisfly Larval | en_US |
dc.title | The Influences of Kai Genera Cladophora and Rhizoclonium on Caddisfly Larval order Trichoptera communities in Nan River, Nan Province | en_US |
dc.title.alternative | อิทธิพลของสาหร่ายไกสกุล Cladophora และ Rhizoclonium ต่อชุมชีพตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำ อันดับ Trichoptera บริเวณแม่น้ำน่านในจังหวัดน่าน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Nan River | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Trichoptera | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Cladophora | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Rhizoclonium | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Insects -- Embryos | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Rivers -- Nan | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในบริเวณแม่น้ำน่านตอนบน, สาหร่ายสีเขียวที่มีเส้นสายขนาดใหญ่ (สกุล Cladophora และ Rhizoclonium หรือชื่อท้องถิ่นคือสาหร่าย ไก) มักจะ ถูกพบอยู่ในบริเวณแหล่งที่อยู่อาศัยแบบก้อนหิน กรวดในฤดูหนาว ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำ (Trichoptera) อาศัยอยู่ในบริเวณแหล่งที่อยู่อาศัยแบบ ก้อนหินกรวดเช่นกัน ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ 1) เพื่อศึกษาอิทธิพลของสาหร่ายไกต่อ ชุมชีพตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำ และ 2) เพื่อศึกษาบทบาทของสาหร่ายนี้ต่อตัวอ่อนแมลงหนอน ปลอกน้ำวงศ์ Hydropsychidae และ Hydroptilidae ในด้านของการเป็นแหล่งอาหาร การศึกษาครั้งนี้ ได้กำหนดจุดศึกษาจำนวน 8 จุดศึกษาในพื้นที่อำเภอทุ่งช้างถึงอำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน ทำการ เก็บตัวอย่าง เดือนละ I ครั้ง ตั้งแค่เดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 วิธีการศึกษา ในส่วนแรก คือ ในช่วงที่พบการเจริญของสาหร่ายไก ใน 1 จุดศึกษาถูกแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ ได้แก่ บริเวณที่ไม่พบการเจริญของสาหร่ายไกบนก้อนหิน หรือพบได้น้อยมาก ไม่เกิน 20% ของพื้นที่ Surber sampler บริเวณนี้จะ ถูกเรียกว่า Control area (CT) บริเวณที่ 2 เป็นบริเวณที่พบการเจริญของ สาหร่ายไกปกคลุมบนก้อนหินมากกว่า 80% ของพื้นที่ Surber sampler บริเวณนี้จะถูกเรียกว่า Kai algal blooming area (KB) ตัวอย่างสาหร่ายไกและตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำถูกเก็บด้วยอุปกรณ์ Surber sample ขนาค 25x25 cm2 เก็บจำนวน 10 ครั้งต่อ 1 จุดศึกษา วิธีการศึกษาในส่วนที่ 2 คือ ตัว อ่อน Hydropsychidae และ Hydroptilidae ถูกนำมาศึกษาพฤติกรรมการกินสาหร่ายไกสดและประเภท อาหารภายในทางดินอาหารส่วนต้น วิธีการศึกษาส่วนที่ 3 คือ ปัจจัยทางกายภาพเคมีของน้ำ ได้แก่ อุณหภูมิน้ำ, อุณหภูมิอากาศ, ความเร็วกระแสน้ำ, ความเป็นกรคด่างของน้ำ (pH), ค่าการนำไฟฟ้าของ น้ำ (EC), ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำ (TDS), ค่าออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO), ค่าความ ต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (BOD5), ค่าความกระด้างของน้ำ, แอมโมเนียไนโตรเจน (NH3 -N), ไน เตรทไนโตรเจน (NO3 -N), และออร์โซฟอสเฟต (PO43-) ในแม่น้ำน่านจะถูกวัดค่า เดือนละ 1 ครั้ง ตัว อ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำจำนวน 13 และ 15 วงศ์ ถูกพบในบริเวณ CT และ KB ตามลำดับ จำนวน วงศ์ของตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำที่พบในบริเวณ KB มีมากกว่าในบริเวณ CT อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) ความหนาแน่นของตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำ 13 วงศ์ ในบริเวณ KB มีมากกว่า ในบริเวณ CT อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษาเหล่านี้บ่งชี้ว่าสาหร่ายไกมีอิทธิพลทางบวกต่อตัว อ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำจำนวน 13 วงศ์ ตัวอ่อน Hydropsychidae และ Hydroptilidae มีพฤติกรรม การกินสาหร่ายไก โดยตัวอ่อน Hydropsychidae กินสาหร่ายไกสด ส่วนตัวอ่อน Hydroptilidae กิน ของเหลวภายในเซลล์สาหร่ายไกสด ประเภทอาหารที่พบในทางเดินอาหารส่วนด้นของตัวอ่อน Hydropsychidae จำนวน 18 ตัวที่อาศัยอยู่ในบริเวณ CT ประกอบด้วย สาหร่ายไก (KA) 44.66%, อาหารประเภทอื่นๆ เช่น เศษพืชและแมลง (OI) 32.18%, ไดอะตอม (DT) 22.17% และสาหร่ายเส้น สายอื่นๆ (OFA) 0.46% ประเภทอาหารที่พบในทางเดินอาหารส่วนต้นของตัวอ่อน Hydropsychidae จำนวน 18 ตัวที่อาศัยอยู่ในบริเวณ KB ประกอบด้วย สาหร่ายไก (KA) 78.13%, ไคอะตอม (DT) 14.49% อาหารประเภทอื่นๆ เช่น เศษพืชและแมลง(O1) 3.72%, และสาหร่ายเส้นสายอื่นๆ (OFA) 3.65% สัดส่วนของอาหารประเภท KA ในทางเดินอาหารของตัวอ่อนจากทั้ง 2 บริเวณ มีมากกว่า อาหารประเภทอื่นๆ เมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนของอาหารประเภทเดียวกันที่พบในทางเดินอาหารส่วน ต้นของตัวอ่อนที่อาศัยอยู่ในบริเวณ CT กับ KB พบว่าสัดส่วนของอาหารประเภท KA และ OFA ในทางเดินอาหารส่วนต้นของตัวอ่อนจากบริเวณ KB มีมากกว่าบริเวณ CT อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่สัดส่วนอาหารประเภท DI และ 9I ภายในทางเดินอาหารส่วนต้นของตัวอ่อนที่อาศัยอยู่ในบริเวณ CI มีมากกว่าบริเวณ KB อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่าสาหร่ายไกมีความสำคัญต่อ ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำในด้านการเป็นอาหารแก่ตัวอ่อนเหล่านี้ ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในแม่น้ำ น่านได้แก่ อุณหภูมิน้ำ, PH, EC, TDS, ความขุ่นของน้ำ และความกระค้างของน้ำมีอิทธิพลต่อการ ปรากฎของตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำ การศึกษานี้พบว่าปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมในแม่น้ำน่าน ในช่วง ฤคูหนาวถึงฤคูร้อนมีความเหมาะสมต่อการคำรงชีวิตของตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590551057 พรพิมล บุญทา.pdf | 12.17 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.