Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79334
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Charin Mangkhang | - |
dc.contributor.advisor | Jarunee Dibyamandala | - |
dc.contributor.advisor | Monnapat Manokarn | - |
dc.contributor.author | Chainarong Jarupongputtana | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-13T09:40:08Z | - |
dc.date.available | 2023-12-13T09:40:08Z | - |
dc.date.issued | 2022-05-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79334 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to synthesize interdisciplinary community- based learning processes to promote digital citizenship for higher education students. Create an interdisciplinary community-based learning process to promote digital citizenship for higher education students and explore the effects of an interdisciplinary community-based learning model to promote digital citizenship for professional students. The research was qualitative research conducted by using content analysis according to the research "Digital Citizenship: Developing Digital Literacy through Interdisciplinary Community-Based Learning for Higher Education Students" used a research process analyzed and synthesized documents and participatory action research through qualitative research methods. The knowledge of this research is the creation of an interdisciplinary learning process through participatory practice to link contextual knowledge in order to obtain study results according to the objectives. The study results were as follows: 1. Synthesis of interdisciplinary community-based learning projects of social studies students who received national scholarships and awards in relation to pedagogical methods. Teaching methods related to such learning include: Academically Based community Service, Civic Education Environmental Education, Placed-based Education Service Learning/ Work-based Learning & Pre-Tech/ Social Engagement. Discipline Based Model, Problem-based Learning, Community Based Action Research Model, Volunteerism and Field Education. 2. Create an interdisciplinary community-based learning process to promote digital citizenship for tertiary students through the 3C Model : Critique of Spatial Phenomena, Collaborative Learning Dimension and Creative Practical Research derived from the synthesis of the learning model building process linked to the elements in the learning process as follows : Students who have knowledge bases in the science of teaching social studies , network partners with interdisciplinary experience and community bases that create civic engagement processes through service learning through learning and interdisciplinary community-based, and participatory practice which consists of Service learning is combined with ICBL: Interdisciplinary Community based Learning and PAR: Participatory Action Research, The importance of making student projects successful for community outputs and outcomes. 3. The results of the synthesis of digital citizen competency and interdisciplinary community-based learning concepts revealed that there were digital competencies leading to digital citizenship as follows: Digital Access. Digital Literacy, Digital Commerce, Digital Safety and Resilience, Digital Participation and Agency, Digital Emotional, Intelligence Digital, Creativity and Innovation Digital, Communication Digital, Ethic Digital and Health and well being | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Digital Citizenship | en_US |
dc.title | Digital citizenship: digital literacy development through interdisciplinary community-based learning for higher education students | en_US |
dc.title.alternative | ความเป็นพลเมืองดิจิทัล: การพัฒนาการรู้เท่าทันดิจิทัลผ่านการเรียนรู้แบบชุมชนเป็นฐานเชิงสหวิทยาการสำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Interdisciplinary research | - |
thailis.controlvocab.lcsh | College students -- Rating of | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Active learning | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Learning | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์การเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเชิงสหวิทยาการ เพื่อส่งเสริมการเป็นพลเมืองดิจิทัลสำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา สร้างกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ ชุมชนเป็นฐานเชิงสหวิทยาการเพื่อส่งเสริมการเป็นพลเมืองดิจิทัลสำหรับนักเรียนระดับอุดมศึกษา และศึกษาผลการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเชิงสหวิทยาการเพื่อส่งเสริมการเป็นพลเมืองดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา การวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ใช้กระบวนการวิจัยวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารและการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมด้วย วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ องค์ความรู้ในงานวิจัยนี้คือการสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบสหวิทยาการผ่าน การปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมเพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้ตามบริบทเพื่อให้ได้ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ ผลการศึกษามีดังนี้ 1. สังเคราะห์โครงงานการเรียนรู้ฐานชุมชนเชิงสหวิทยาการของนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา ที่ได้รับทุนและรางวัลในระดับชาติที่สัมพันธ์กับวิธีวิทยาการสอนพบว่า วีธีวิทยาการสอนที่สัมพันธ์ กับการเรียนรู้ดังกล่าว ประกอบด้วย การเรียนรู้เชิงวิชาการผ่านการบริการ พลเมืองศึกษา สิ่งแวดล้อม ศึกษา แนวคิดการศึกษาอิงถิ่นฐาน การเรียนรู้เชิงบริการ การเรียนรู้จากฐานการทำงาน การสร้างความ ร่วมมือทางสังคม หลักสูตรประสบการณ์ชุมชน การเรียนรู้โคยใช้ปัญหาเป็นฐาน การเรียนรู้ผ่านการวิจัยเชิงปฏิบัติการฐานชุมชน อาสาสมัคร การลงพื้นที่ภาคสนาม 2. สร้างกระบวนการเรียนรู้ตามชุมชนแบบสหวิทยาการเพื่อส่งเสริมการเป็นพลเมืองดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระคับอุคมศึกยาผ่าน 3C Model ประกอบด้วย การวิพากษ์ปรากฎการณ์เชิงพื้นที่ (Critique of Spatial Phenomena) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning Dimension) และ ปฏิบัติการฐานชุมชน เชิงสร้างสรรค์ (Creative Practical Research) ที่ได้จากการสังเคราะห์ กระบวนการสร้างรูปแบบการเรียนรู้เชื่อมโยงกับองค์ประกอบในกระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ นักศึกษา ที่มีฐานความรู้ค้านศาสตร์การสอนสังคมศึกษา ( Academic Study) ภาคีเครือข่ายที่มีประสบการณ์ เชิงสหวิทยาการ (Practical Experience ) และฐานชุมชนที่สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม (Civic Engagement) ผ่านการเรียนรู้เชิงบริการผ่านการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเชิงสหวิทยาการและการ ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (SLICBLPAR : Service Learning via Interdisciplinary Community based Learning and Participatory Action Research) ซึ่งประกอบด้วย การเรียนรู้เชิงบริการ (Service Learning) ร่วมกับการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเชิงสหวิทยาการ (ICBL : Interdisciplinary Community based Learning) และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR : Participatory Action Research) ซึ่งเป็นวิธีวิทยาการสอนที่สำคัญทำให้โครงงานของนักศึกษาประสบความสำเร็จต่อ ผลผลิตและผลลัพธ์ที่มีต่อชุมชน 3. ผลการสังเคราะห์สมรรถนะพลเมืองดิจิทัลและแนวคิดการเรียนรู้ฐานชุมชนเชิงสหวิทยาการ พบว่า ปรากฏสมรรถนะทางดิจิทัลที่นำไปสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลดังนี้ การเข้าถึง การรู้เท่าทันดิจิทัล การพาณิชย์ ความปลอดภัยและการฟื้นคืนสู่ปกติทางดิจิทัล การมีส่วนร่วมและ หน่วยงานดิจิทัล ความฉลาดทางอารมณ์แบบดิจิทัล ความคิดสร้างสรรค์และ นวัตกรรมดิจิทัล การสื่อสารดิจิทัล จริยธรรมดิจิทัล ดิจิทัลเชิงสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590252028 ชัยณรงค์ จารุพงศ์พัฒนะ.pdf | 1.97 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.