Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79319
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรสุดา อินทร์สาน | - |
dc.contributor.advisor | สิระ สมนาม | - |
dc.contributor.author | ฉัตร์นิพัฒน์ คำบ้านฝาย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-12T16:31:36Z | - |
dc.date.available | 2023-12-12T16:31:36Z | - |
dc.date.issued | 2565-04-18 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79319 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to develop and study the effects of using the Community-Based Thai Learning Model integrated with folklore resources in Culture and Language course for Matthayomsuksa 5 students, The Prince Royal's College, Chiang Mai. Whilst the purposive sampling were 50 students. The instruments were 1) the Community-Based Thai Learning Model and two unit plans 2) the set of assessment forms for the 21"Century Learners' Competencies 3) the learners' satisfaction assessment form with The Community-Based Thai Learning Model. For data analysis, descriptive statistics with an average, standard deviation, and percentage were employed. The research results shows the developed Community-Based Thai Learning model is "FICIASS MODEL". There are the abbreviation of these seven steps 1) F: Foundation, 2) 1: Identify & Invigorate, 3) C: Cooperation & Coaching, 4) 1: Integrated with Folklore Resources, 5) A: Analysis & Abstract, 6) S: Show-Share-Self and 7) S: Service. The effect of assessment for the 21" Century Learners' Competencies after applying FICIASS MODEL shows the learners' communication capacity was considered to be "excellent" with the mean of 3.52. For thinking capacity, the mean of learners' competency is 3.41 and was at a "good" level. For the capacity for technological application, learners are considered to be the "excellent" level with a mean of 3.54. Besides, the results of the learners* satisfaction assessment form with FICIASS MODEL shows the learners were satisfied with the overall process at the "high" level of satisfaction with a mean of 4.32 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | เรียนรู้ภาษาไทยฐานชุมชน | en_US |
dc.subject | คติชนท้องถิ่น | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ภาษาไทยฐานชุมชนด้วยการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ทางคติชนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริมสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 | en_US |
dc.title.alternative | Development of community-based Thai learning model integrated with folklore resources to promote 21st century learners’ competencies | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาษากับวัฒนธรรม -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | คติชนวิทยา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประ สงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนรู้ภาษาไทยฐาน ชุมชน ด้วยการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ทางคติชนท้องถิ่นในรายวิชาภาษากับวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 56 คน ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) รูปแบบและแผนการเรียนรู้ภาษาไทยฐานชุมชน 2) ชุดแบบ ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน ต่อรูปแบบการเรียนรู้ภาษาไทยฐานชุมชน วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น คือ FICIASS MODEL ประกอบด้วยกระบวนการสำคัญ ดังนี้ 1) Foundation: รู้หลักการ 2) Idenify & Invigorate: ระ บุ - เร้า 3) Cooperation & Coaching: ร่วมโค้ช ร่วมคิด 4) Integrated with Folklore Resources: การบูรณาการแหล่งเรียนรู้ทางคติชนท้องถิ่นสู่ท้องเรียน 5) Analysis & Abstract: วิเคราะห์ สรุปรวบยอด 6) Show - Share - Self แสดง แบ่งปัน สะท้อนคิด และ 7) Service: บริการวิชาการ ชุมชน ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จากการนำรูปแบบการเรียนรู้ ภาษาไทยฐานชุมชน FICIASS MODEL ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในภาพรวมพบว่า ผู้เรียนมื ความสามารถในการสื่อสารเฉลี่ 3.32 อยู่ในระดับดีเยี่ยม ด้านความสามารถในการคิดมีค่าเฉลี่ย 3.41 อยู่ในระคับดี และด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีมีค่าเฉลี่ย 3.54 อยู่ในระดับดีเยี่ยม ทั้งนี้ผล การประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อรูปแบบการเรียนรู้ภาษาไทยฐานชุมชน FICIASS MODEL มีค่าเฉลี่ย 4.32 อยู่ในระดับมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630232055 ฉัตร์นิพัฒน์ คำบ้านฝาย.pdf | 47.58 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.