Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79317
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจารุณี ทิพยมณฑล-
dc.contributor.advisorสิระ สมนาม-
dc.contributor.authorกัญญาภัทร ศุภสารen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T16:24:26Z-
dc.date.available2023-12-12T16:24:26Z-
dc.date.issued2565-02-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79317-
dc.description.abstractThe purposes of this research are 1) to develop the learning plans using mother tongue-based learning innovation integrated with Team-Games-Tournament and English-Tai teaching aids to develop English vocabulary recognition of ethnic Tai students, Chiangmai province, and 2) to study the quality of learning plans using mother tongue-based learning innovation integrated with Team- Games-Tournament and English-Tai teaching aids to develop English vocabulary recognition of ethnic Tai students, Chiangmai province. Participants of this study were 1) Three assessors on conformity learning plans consists of university lecturer, school deputy director, and foreign language department head; 2) Seven evaluators on learning plans consists of one vice director for academic affairs, five English instructors with teaching experienced within their own primary school, and one English instructor experienced in teaching English at other school. Five sets of learning plan assessment form were used in this study, analyzed with means and standard deviation, and presented in a table format with descriptive essay. The research found that all five learning plans was consistent with high quality in learning standards and learning objectives, essence, learning content, learning activities, desirable characteristics, learning resources, learning aids and measurement and evaluation methods. The name of each learning plan was On my farm, Occupation and places, Daily food on farm, My body, and Poysanglong festival, respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ-ไตen_US
dc.subjectนักเรียนชาติพันธุ์ไทใหญ่en_US
dc.titleนวัตกรรมการเรียนรู้ฐานภาษาแม่ที่บูรณาการกลุ่มเกมแข่งขันร่วมกับสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ-ไต เพื่อพัฒนาการรับรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชาติพันธุ์ไทใหญ่ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMother tongue-based learning innovation integrated with team games-tournament and English-Tai teaching aids to develop English vocabulary recognition of ethnic Tai students, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน -- โปรแกรมกิจกรรม-
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashภาษาแม่ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashความสามารถในการใช้สองภาษา-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มชาติพันธุ์ -- การศึกษา-
thailis.controlvocab.thashไทใหญ่ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการเรียนรู้ที่ใช้นวัดกรรมการเรียนรู้ฐานภาษา แม่ที่บูรณาการกลุ่มเกมแข่งขันร่วมกับสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ-ไต เพื่อพัฒนาการรับรู้คำศัพท์ ภาษาอังกฤษของนักเรียนชาติพันธุ์ไทใหญ่ จังหวัดเชียงใหม่ และ 2) ศึกษาคุณภาพแผนการเรียนรู้ที่ใช้ นวัดกรรมการเรียนรู้ฐานภาษาแม่ที่บูรณาการกลุ่มเกมแข่งขันร่วมกับสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ-ไต เพื่อพัฒนาการรับรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชาติพันธุ์ไทใหญ่ จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมาย ในการวิจัยครั้งนี้คือ 1) ผู้ประเมินค่าความสอดคล้องของแผนการเรียนรู้จำนวน 3 คน ได้แก่ อาจารย์มหาวิทยาลัย 1 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประ เทศ 1 คน 2) ผู้ประเมินแผนการเรียนรู้จำนวน 7 คน ได้แก่ รองผู้บริหารฝ่ายวิชาการ 1 คน ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษาภายใน โรงเรียน จำนวน 5 คน และครูผู้สอนที่มีประสบการณ์จัดการเรียนการสอนภาบาอังกฤษต่างโรงเรียนจำนวน 1 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบประเมินแผนการเรียนรู้จำนวน 5 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอข้อมูลด้วยตารางประกอบความเรียงบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า แผนการเรียนรู้ 5 แผน คือ แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง On my farm แผนการ เรียนรู้ที่ 2 เรื่อง Occupation and places แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง Daily food on farm แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง My body และแผนการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง Poysanglong festival ทุกแผนมีความสอดคล้องและมี คุณภาพระดับมาก ทั้งด้านการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระ การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แหล่ง/ สื่อการเรียนรู้ และวิธีการวัดและ ประเมินผลen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232038 กัญญาภัทร ศุภสาร.pdf34.94 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.