Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79316
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิระ สมนาม-
dc.contributor.advisorจารุณี ทิพยมณฑล-
dc.contributor.authorลู่, หลีผิงen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T16:17:55Z-
dc.date.available2023-12-12T16:17:55Z-
dc.date.issued2565-01-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79316-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) To study the conditions and problems of teaching Thai culture to promote Thai communication skills for students in Higher Education Institutions of Republic China 2) To study Thai culture teaching skills and Thai communication skills for students in Higher Education Institutions of Republic China 3) To propose Thai cultural teaching guidelines to promote Thai language communication skills for students in China's higher education institutions. The population used in research are Chinese students enrolled in semester 1/2021, Yunnan Technology and Business University and Kunming College of Liberal Arts and Sciences. The tools used in the research are questionnaires and group discussion points. statistics used are frequency, percentage, average, and standard deviation. The results of this research found: 1. Overview of Thai culture teaching for students in Higher Education Institutions of Republic China It found that students agree with teaching Thai culture for students in higher education institutions of Republic China at a very high level. The administraters' opinion agree with teaching Thai culture for students in higher education institutions in China at a moderate level. Instructors agree with teaching Thai culture for students in higher education institutions in China at a very high level. 2. Teaching skills of Thai culture instructors found that they had teaching skills in the top three: 1) Encourage participation in supplementary activities to improve themselves and society 2) Encourage students to study, research and collaborate, 3) intertwining with morality and ethics in teaching. The top three Thai cultural content teaching skills are 1) Thai dance 2) Thai manners 3) Thai film and drama, and teaching activities skills. The top three learners activiries are 1) Cooperation Learning 2) Task-based Learning 3) Project-based Learning, while students' Thai communication skills have found that learning Thai culture promotes Thai speaking skills, Thai writing skills, Thai listening skills, and Thai reading skills, respectively. 3. Thai Cultural Teaching Guidelines for Students in Higher Education Institutions Republic of China It found that instructors should organize activities to teach Thai cultural content to promote Thai communication skills. Reading Thai Listening, Speaking and Writing skills are with evaluation the curriculum, teacher qualifications, teaching and learning.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการสอนวัฒนธรรมไทยเพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารภาษาไทยสำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศจีนen_US
dc.title.alternativeGuidelines of Thai culture instruction to promote Thai communication skills for students in higher education institutions of Republic of Chinaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมยูนนาน-
thailis.controlvocab.thashวิทยาลัยศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์คุนหมิง-
thailis.controlvocab.thashวัฒนธรรมไทย -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษาจีน -- การสื่อสาร-
thailis.controlvocab.thashสถาบันอุดมศึกษา -- จีน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาสภาพและ ปัญหาการสอนวัฒนธรรมไทยเพื่อ ส่งเสริมทักษะการสื่อสารภาษาไทยสำหรับนักศึกษาในสถาบันอุคมศึกษาของประเทศจีน 2) ศึกษา ทักษะการสอนวัฒนธรรมไทยและทักษะการสื่อสารภาษาไทยสำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ของประเทศจีน 3) เสนอแนวทางการสอนวัฒนธรรมไทยเพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารภาษาไทย สำหรับนักศึกษาในสถาบันอุคมศึกษาของประเทศจีน ประชากรที่ใช้ในวิจัยคือนักศึกษาจีนที่ ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษา 1/2564 มหาวิทยาลัยอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมยูนนานและ วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์คุนหมิง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และประเด็น การสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาพรวมความคิดเห็นของการสอนวัฒนธรรมไทยสำหรับนักศึกษาในสถาบันอุคมศึกษา ของประเทศจีน พบว่า นักศึกษาเห็นด้วยกับการสอนวัฒนธรรมไทยสำหรับนักศึกษาใน สถาบันอุดมศึกษาของประเทศจีนในระดับมาก ผู้บริหารเห็นด้วยกับการสอนวัฒนธรรมไทยสำหรับ นักศึกษาในสถาบันอุคมศึกษาของประเทศจีนในระดับปานกลาง ผู้สอนเห็นด้วยกับการสอน วัฒนธรรมไทยสำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศจีนในระดับมาก ปัญหาการการสอน วัฒนธรรมไทยสำหรับนักศึกษาในสถาบันอุคมศึกษาของประเทศจีนพบว่า มีปัญหาด้านการจัดเนื้อหา ด้านการประเมินผล ด้านทรัพยากร ด้านบริหาร ด้านสภาพแวดล้อม ด้านเนื้อหาวัฒนธรรมไทย ด้านกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน 2. ทักษะการสอนของผู้สอนวัฒนธรรมไทยพบว่าผู้สอนมีทักษะด้านการเรียนการสอนใน สามอันดับแรกได้แก่ 1) ส่งเสริมให้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่างๆ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม 2) ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าและการทำงานร่วมกัน 3) มีการสอดแทรกคุณธรรมและ จริยธรรมในการสอน ด้านทักษะการสอนเนื้อหาวัฒนธรรมไทยสามอันดับแรกได้แก่ 1) นาฏศิลป์ไทย 2) มารยาทไทย 3)ภาพยนตร์และละครไทย และด้านทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาม อันดับแรก ได้แก่ 1) การเรียนรู้แบบร่วมมือ Cooperation Learning 2) การเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน เป็นฐาน Task-based Learning 3)การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน Project-based Learning ส่วนด้าน ทักษะการสื่อสารภาษาไทยของนักศึกษาพบว่า การเรียนรู้วัฒนธรรมไทยช่วยส่งเสริมทักษะการพูด ภาษาไทย ทักษะการเขียนภาษาไทย ทักษะการฟังภาษาไทย และ ทักษะการอ่านภาษาไทย ตามลำดับ 3. แนวทางการสอนวัฒนธรรมไทยสำหรับนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของประเทศจีน พบว่า ผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเนื้อหาวัฒนธรรมไทยเพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสาร ภาษาไทยได้แก่ ทักษะการฟังการอ่าน การพูด การเขียนภาษาไทย โดยมีการประเมินผลตรวจสอบ ด้านหลักสูตร ด้านคุณสมบัติผู้สอน และด้านการเรียนการสอนen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232020 LIPING LYU.pdf27.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.