Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79302
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สิทธิเกรียงไกร-
dc.contributor.advisorชยันต์ วรรธนะภูติ-
dc.contributor.authorอายุวัฒน์ ระรื่นen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T11:48:15Z-
dc.date.available2023-12-12T11:48:15Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79302-
dc.description.abstractThis thesis aims to study the “Imagining Community” of Karen refugees who chose to return to settle in the Thai-Myanmar border area under the supervision of the Karen National Union (KNU). This area is where some of the refugees used to live, but with the unrest situation It became an agricultural area in the later period. This is an ethnographic study that uses interviews and participatory observation as the main methods. For the safety of the informant and the location of the study, pseudonyms were used. The research questions are as follows: 1) What are the conditions or contexts that make Karen refugees choose to return to settle in the area of the National Union of Karen Army in Wa Hmee Aye Village? 2) What is the process of creating an envisioned community of refugees who chose to return to settle in the area of the Karen National Union; and 3) What is the process of changing the Karen refugees from waiting for help to being members of a new community that enables sustainable livelihoods, and what are the tactics utilised in order to achieve this? Data collection for this study was conducted between October 2020 and June 2023. The study area is under KNU control, which is 15 kilometres from the Thai border. The repatriated refugees were living in the refugee camps until they made up their minds to move back, considering the volatile situation in the camps, which propelled them to look for alternatives to resettlement collaboratively. Differences in life experience, relationships, and acquired skills while struggling to survive in camps, etc., have affected their choices of areas to return to. For the focus group of this research who have chosen to return to their country of origin, it is critical that they all find ways to build relationships and find ways to navigate their living situation, especially at the beginning stage of their return and amidst the ongoing clashes between the KNU and the Myanmar army. This study attempts to understand the relationship between the local communities and the refugee repatriation process in the Thai-Myanmar border area. From the preliminary discoveries, the study found that, among these newly resettled refugees, some settled in the villages through social connections based on their beliefs and experience as part of the Karen National Union (KNU), while others made decisions based on financial support and livelihood suitability. After returning to their homeland, refugees tried to establish themselves in the surrounding communities by developing education and vocational training in the area. Notably, the man who started the search for repatriation space has been exerting tremendous efforts in integrating and uniting all the refugees into the community, despite having different experiences and backgrounds. It all contributes to enhanced negotiation power and the creation of a new community in a new area.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการดำรงชีพและชุมชนจินตนาการของผู้ลี้ภัยชาวกะเหรี่ยงที่กลับคืนสู่ถิ่นฐานโดยสมัครใจอย่างไม่สมบูรณ์: กรณีศึกษาหมู่บ้านวะหมี่เอ ประเทศเมียนมาen_US
dc.title.alternativeLivelihood and imagining community of the karen refugees incomplete voluntary repatriation: a case study of Wa Hmee Aye Village, Myanmaren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้ลี้ภัย -- พม่า-
thailis.controlvocab.thashกะเหรี่ยง-
thailis.controlvocab.thashชาติพันธุ์วิทยา -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาความเป็นชุมชนในจินตนาการของผู้ลี้ภัยที่เลือกกลับไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ชายแดนไทย – เมียน ภายใต้การดูแลของกลุ่มทหารกองกำลัง KNU ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่ผู้ลี้ภัยส่วนหนึ่งเคยอยู่อาศัย แต่ด้วยสถานการณ์ความไม่สงบ ทำให้กลายเป็นพื้นที่มีการปะทะกันบางครั้งและพื้นที่สำหรับทำการเกษตร งานศึกษาฉบับนี้เป็นการศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณนา ใช้วิธีการสัมภาษณ์และสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม อย่างไรก็ตามเพื่อความปลอดภัยของผู้ให้ข้อมูลและสถานที่ผู้ศึกษาใช้จึงใช้นามสมมุติ ซึ่งพยายามตอบคำถามวิจัยต่อไปนี้ 1) เงื่อนไขหรือบริบทที่ทำให้ผู้ลี้ภัยชาวกะเหรี่ยงเลือกกลับไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่กองกำลังสหภาพแห่งชาติ-กะเหรี่ยงในหมู่บ้านวะหมี่เอเป็นอย่างไร 2) กระบวนการสร้างชุมชนจินตนาการของผู้ลี้ภัยที่เลือกกลับไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่กองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยงนั้นเป็นอย่างไร และ 3) การพลิกบทบาทจากผู้รอความช่วยเหลือมาเป็นสมาชิกชุมชนใหม่เพื่อให้สามารถดำรงชีพอย่างยั่งยืนของผู้ลี้ภัยมีกระบวนการและวิธีการอย่างไร โดยรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2563 จนถึง เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 โดยพื้นที่ศึกษาอยู่ภายใต้การดูแลของกองกำลัง KNU ซึ่งห่างจากชายแดนไทย 15 กิโลเมตร เนื่องด้วยสถานการณ์ผู้ลี้ภัยที่อาศัยอยู่ในค่ายอพยพนั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมีการเสนอให้เดินทางกลับไปอยู่ภายใต้รัฐบาลเมียนมา ทำให้ตัวผู้ลี้ภัยรวมตัวกันมองหาทางเลือกในการตั้งถิ่นฐานใหม่ ซึ่งผู้ลี้ภัยใช้ประสบการณ์ ความสัมพันธ์ และทักษะในการดิ้นรนในการดำรงชีวิตขณะอยู่ในค่ายอพยพ มองหาความช่วยเหลือของกองกำลัง KNU ซึ่งในท้ายที่สุดส่งผลต่อการเลือกพื้นที่ในการเลือกกลับไปตั้งถิ่นฐาน เมื่อผู้ลี้ภัยกลุ่มหนึ่งเดินทางกลับไปยังประเทศต้นทาง ช่วงแรกที่ผู้ลี้ภัยทุกคน ต่างต้องใช้วิธีการในการสร้างความสัมพันธ์กับชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่ รวมตัวก่อร่างสร้างชุมชน และหาทางดิ้นรนต่อสถานการณ์ของการดำรงชีพในขณะที่มีการปะทะกันระหว่างกองกำลัง KNU กับทหารเมียนมา และการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ชายแดนในประเทศเมียนมา ซึ่งงานศึกษาฉบับนี้พยายามทำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างบริบทท้องถิ่นของผู้ลี้ภัยกับกระบวนการส่งผู้ลี้ภัยกลับประเทศในพื้นที่ชายแดนไทย-เมียนมา จากการค้นพบเบื้องต้น การศึกษาพบว่ากลุ่มผู้ลี้ภัยที่ย้ายถิ่นฐานใหม่เหล่านี้ ส่วนใหญ่ต่างมีประสบการณ์ที่เคยทำงานร่วมกับกองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง KNU ต่างมีประสบการณ์ที่ไม่ดีกับรัฐบาลเมียนมาทำให้ผู้ลี้ภัยบางคนเลือกกลับไปตั้งถิ่นฐานในพื้นที่กองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง KNU โดยอาศัยความสัมพันธ์ทางสังคมซึ่งมาจากความเชื่อและประสบการณ์ในการเป็นส่วนหนึ่งของกองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง KNU โดยชายผู้ริเริ่มมองหาพื้นที่ในการส่งตัวกลับประเทศ ให้มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันถึงแม้ว่าต่างคนจะมีประสบการณ์ภูมิหลังที่แตกต่างกัน นำมาถึงการต่อรองและสร้างความเป็นชุมชนใหม่ในพื้นที่ใหม่ ขณะเดียวกันพื้นที่ของหมู่บ้านพยายามสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนรอบผ่านการทำกิจกรรมร่วมกันและพยายามสร้างตัวตนให้ชุมชนในพื้นที่ใกล้เคียงยอมรับโดยมีการพัฒนาด้านการศึกษาและการฝึกอาชีพในพื้นที่ ในส่วนของการดำรงชีพนั้นเป็นงานภาคการเกษตรที่สามารถทำได้ตามฤดูกาล ซึ่งมีผู้ลี้ภัยส่วนหนึ่งพยายามต่อรองในการใช้พื้นที่ดินในการเพาะปลูกแทนค่าตอบแทน และผู้ลี้ภัยส่วนหนึ่งยังคงรับความช่วยเหลือจากทางค่ายอพยพ และพยายามดำรงชีวิตในพื้นที่en_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620431008-อายุวัฒน์ ระรื่น.pdf6.75 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.