Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79300
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวริษา วิสิทธิพานิช-
dc.contributor.authorศุภณัฐ ปัญญาคมen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T11:04:26Z-
dc.date.available2023-12-12T11:04:26Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79300-
dc.description.abstractOptimal production scheduling is a key method for planning and improving the efficiency of manufacturing processes. Scheduling in a flexible job-shop system (FJS) is more complex than traditional job-shop systems because each type of product has different manufacturing operations which can be processed on multiple machines, making the problem more intricate. This research presents a mathematical model of the flexible job-shop scheduling problem with sequence-dependent setup times (FJSP-SDST) with the objective of minimizing the makespan. Testing the problem with an exact method approach proved infeasible for large-scale problems due to its NP-hard nature, making it impractical within practical time limits. Therefore, this research applies the Differential Evolution (DE) algorithm, a popular and efficient metaheuristic, to find solutions. After testing and fine-tuning suitable parameters for the FJSP-SDST problem, it showed that the 'current-to-best/1/bin' strategy performed better than other strategies. As a result, this research applies the DE algorithm to the production scheduling problem in a case study of a food manufacturer and distributor with a flexible job-shop production system. The results showed that, on average, the DE method reduces the total makespan time by 36.07% compared to the company's traditional scheduling approach for all case study problems.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดตารางการผลิตที่เหมาะสมที่สุดสำหรับโรงงานผลิตอาหารพร้อมบริโภคen_US
dc.title.alternativeOptimal production scheduling for ready meals manufactureren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมอุตสาหการ-
thailis.controlvocab.thashระบบการผลิตแบบยืดหยุ่น-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมการผลิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดตารางการผลิตที่เหมาะสมเป็นวิธีที่สำคัญในการวางแผนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพให้กับกระบวนการผลิต การจัดตารางการผลิตในระบบการผลิตแบบตามสั่งยืดหยุ่น (Flexible job-shop, FJS) มีความซับซ้อนมากกว่าระบบการผลิตแบบตามสั่งแบบดั้งเดิมเนื่องจากการผลิตงานแต่ละชนิดมีกระบวนการผลิตที่แตกต่างกัน สามารถดำเนินงานบนเครื่องจักรได้หลายเครื่องจึงทำให้ปัญหามีความซับซ้อนมากกว่า งานวิจัยนี้นำเสนอแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของปัญหาการจัดตารางการผลิตแบบตามสั่งยืดหยุ่นโดยเพิ่มข้อจำกัดให้มีเวลาปรับตั้งเครื่องจักรขึ้นอยู่กับลำดับการผลิต (Sequence-dependent Setup times, SDST) ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้เวลาเสร็จสิ้นการผลิตน้อยที่สุด จากการทดสอบกับปัญหาตัวอย่างพบว่า การหาคำตอบด้วยวิธีแม่นตรงไม่สามารถหาคำตอบในปัญหาขนาดใหญ่ได้ในเวลาที่จำกัด เนื่องจากเป็นปัญหาระดับ NP-hard จึงไม่เหมาะสมในเชิงปฏิบัติ ดังนั้นงานวิจัยนี้ประยุกต์ใช้วิธี DE ซึ่งเป็นวิธีเมตา-ฮิวรีสติกส์ที่ได้รับความนิยมและมีประสิทธิภาพในการหาคำตอบ จากการทดสอบหาพารามิเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับปัญหา FJSP-SDST พบว่ากลยุทธ์ current-to-best/1/bin มีความสามารถในการหาคำตอบได้ดีกว่ากลยุทธ์อื่นๆ จากผลการทดสอบนี้ งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้วิธี DE เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดตารางการผลิตของกรณีศึกษาผู้ผลิตและจำหน่ายอาหารพร้อมบริโภค ซึ่งมีระบบการผลิตแบบตามสั่งยืดหยุ่น ผลการทดสอบพบว่า จากการเปรียบเทียบวิธีการจัดตารางการผลิตแบบเดิมของกรณีศึกษากับวิธี DE มีเวลาเสร็จสิ้นการผลิตทั้งหมดน้อยที่สุดลดลงโดยเฉลี่ย 36.07% จากปัญหาของกรณีศึกษาทั้งหมดen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631133 ศุภณัฐ ปัญญาคม.pdf17.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.