Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79296
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรสุดา อินทร์สาน | - |
dc.contributor.advisor | จารุณี ทิพยมณฑล | - |
dc.contributor.author | สุดาทิพย์ คิดหมาย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-12T10:10:20Z | - |
dc.date.available | 2023-12-12T10:10:20Z | - |
dc.date.issued | 2023-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79296 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to study the effectiveness of a competency-based language teaching Lesson plan with audiobooks, 2) to study English competency for communication in the Thai massage profession of visually impaired students after learning using competency-based language teaching and 3) to study the satisfaction of visually impaired students with the competency-based language teaching. The research was a paired sample test analysis comparing English communication competencies before and after competency-based language studies. Target group was Mathayomsuksa 1-3 students at the Northern School for the Blind under the Royal Patronage of Her Majesty the Queen, Chiang Mai Province who enrolled in the vocational project course (Thai massage) in semester 1 of academic year 2023. The instruments used in this research were 1) 5 lesson plans of competency-based language teaching, 4 periods per plan and each session was 50 minutes, totaling 20 lessons. 2) Audio book 3)Assessment form of communication competencies in listening and speaking English for communication in the Thai massage profession. 4) Questionnaire on satisfaction with competency-based language teaching activities. The statistics used for data analysis were percentage and standard deviation. The results of this research were as follows: 1. the efficiency index of competency-based language teaching activities with audiobooks was 87.38/83.33, which was higher than the criterion of 80/80 2. the English competency for communication in the Thai massage profession of visually impaired students post – test achievement was higher than that of the pre – test at the .05 level of statistical significance 3. the students’ overall satisfaction with learning by using competency-based language teaching was found at the high level at the average of 4.49 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | นวัตกรรมการสอนภาษาฐานสมรรถนะด้วยหนังสือเสียง เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนวดแผนไทยสำหรับผู้เรียนที่บกพร่องทางการเห็น | en_US |
dc.title.alternative | Innovation of competency-based language teaching with audio book to enhance english communication competence for thai massage career among students with visual impairment | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | คนตาบอด -- การศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาพิเศษ | - |
thailis.controlvocab.thash | ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้การสอนภาษาเชิงสมรรถนะด้วยหนังสือเสียง ศึกษาสมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในอาชีพนวดแผนไทยของนักเรียนที่บกพร่องทางการเห็นหลังการจัดการเรียนการสอนภาษาแบบเชิงสมรรถนะและศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่บกพร่องทางการเห็นต่อรูปแบบการเรียนการสอนภาษาเชิงสมรรถนะ เป็นการวิจับแบบ Paired sample test เปรียบเทียบสมรรถนะการสื่อสารภาษาอังกฤษก่อนเรียนและหลังเรียนภาษาเชิงสมรรถนะ กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนโรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ที่ลงเรียนรายวิชาโครงงานอาชีพ (นวดแผนไทย) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 เครื่องมือที่ใช้ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบการสอนภาษาเชิงสมรรถนะ จำนวน 5 แผน แผนละ 4 คาบ คาบละ 50 นาที รวมทั้งหมด 20 คาบ 2) หนังสือเสียง 3) แบบประเมินสมรรถนะการสื่อสารการฟังและการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในอาชีพนวดแผนไทย 4) แบบสอบถามความพึงพอใจการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษารูปแบบเชิงสมรรถนะ ผู้วิจัยใช้สถิติ ร้อยละและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาเชิงสมรรถนะด้วยหนังสือเสียงมีค่าประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละเท่ากับ 87.38/83.33 ซึ่งเป็นค่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 2. สมรรถนะการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการอาชีพนวดแผนไทยของนักเรียนที่บกพร่องทางการเห็นหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนภาษาเชิงสมรรถนะด้วยหนังสือเสียง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่บกพร่องทางการเห็นต่อกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาเชิงสมรรถนะด้วยหนังสือเสียง อยู่ในระดับความพึงพอใจ มากที่สุด โดยมีคะแนนค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.49 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
สุดาทิพย์ คิดหมาย 640232018.pdf | 8.54 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.