Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79287
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNongyao Nawarat-
dc.contributor.advisorNannaphat Saenghong-
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.authorKwanruan Choosrichomen_US
dc.date.accessioned2023-12-11T16:54:53Z-
dc.date.available2023-12-11T16:54:53Z-
dc.date.issued2023-10-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79287-
dc.description.abstractThis study has the objectives to: 1) study the dynamic of gender representation in English textbooks and 2) study the classroom praxis and reconstruction of gender representation in English textbooks. This study adopted the method of qualitative research. Sai Nam Mekong School, Chiang Khong District, Chiang Rai Province was selected as the study area. The data was collected from English textbooks which were used in four curriculums, classroom observation, and interview. The research found that gender representation that depicted patriarchy ideology was clearly shown in English textbooks used in the Secondary School Curriculum B.E. 2503 (A.D. 1960). It reflected gender – division of labor and gender stereotype. The devaluation of women and praising value of men steadily continued in the Secondary Education Curriculum B.E. 2521 (A.D.1978). By the way, it was found that the content in English textbooks in the Basic Education Curriculum B.E. 2544 (A.D.2001), and the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008) greatly reduced male praise and raised women value. Apart from that, the intersectionality in gender representation has continued to represent in all courses. Nevertheless, gender representation in English classrooms, teachers were key practitioners who had power and freedom to choose and position English textbooks in classrooms. They were also responsible to design activities in classrooms. Moreover, the knowledge, experiences, perspectives, and attitudes of teachers toward gender had influenced the practice of reproduction and reconstruction gender representation in classrooms. Gender attitudes of teachers can be divided into 3 types, namely: 1) teachers with patriarchy attitude 2) teachers with gender – neutral attitude and 3) teachers with challenging attitude towards gender representation. At the same time, students also had status as practitioners. They were able to interpret, question, and challenge the reproduction of gender representation in both English textbooks and English classrooms. There are 3 types of Classroom praxis in Sai Nam Khong School which are 1) classrooms of silence based on the foundation of patriarchy, 2) classrooms served as safe spaces for gender representation, and 3) classrooms that create new contexts for gender representation.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectGender Representationen_US
dc.titleGender representation in English textbooks and classroom praxis: a Thai state secondary public school, Chiang Rai Provinceen_US
dc.title.alternativeภาพแทนเพศภาวะในตำราและปฏิบัติการการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ: โรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐไทย จังหวัดเชียงรายen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSai Nam Mekong School-
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Study and teaching-
thailis.controlvocab.lcshEnglish language -- Textbooks-
thailis.controlvocab.lcshLanguage and sex-
thailis.controlvocab.lcshSai Nam Mekong School-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพลวัตการสร้างภาพแทนเพศภาวะในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ และ 2) เพื่อศึกษาปฏิบัติการในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษและการรื้อสร้างภาพแทนเรื่องเพศภาวะในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพแบบการศึกษาเฉพาะกรณี ผู้วิจัยเลือกโรงเรียนสายน้ำโขง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายเป็นพื้นที่ในการศึกษา และรวบรวมข้อมูลจากการใช้ข้อมูลเอกสารตำราเรียนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2503–2551 การสังเกตชั้นเรียนโดยตรง และการสัมภาษณ์ครูและนักเรียนแบบกึ่งโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่าหนังสือเรียนภาษาอังกฤษปรากฏภาพแทนเพศภาวะที่สะท้อนอุดมการณ์ปิตาธิปไตยอย่างชัดเจนในหลักสูตรช่วง พ.ศ. 2503 ซึ่งสะท้อนให้เห็นบทบาททางเพศที่สังคมคาดหวัง และภาพเหมารวมทางเพศ การลดคุณค่าของผู้หญิงและให้คุณค่าผู้ชายยังเกิดขึ้นต่อเนื่องจนถึงตำราเรียนในหลักสูตรมัธยมศึกษา พ.ศ. 2521 อย่างไรก็ตาม เนื้อหาในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษในหลักสูตรช่วง พ.ศ. 2544 – 2551 พบเนื้อหาที่มีการยกย่องเพศชาย และลดคุณค่าเพศหญิงลดลงอย่างมาก นอกจากนั้นความสัมพันธ์หญิงชายในลักษณะอำนาจทับซ้อนก็ยังคงปรากฏภาพแทนเพศภาวะในทุกหลักสูตร ปฏิบัติการสร้างภาพแทนเพศภาวะในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษ มีครูเป็นผู้ปฏิบัติการสำคัญที่มีอำนาจและอิสระในการเลือกและจัดวางตำแหน่งแห่งที่หนังสือเรียนภาษาอังกฤษในชั้นเรียน รวมถึงการออกแบบและจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยความรู้ ประสบการณ์ มุมมอง และทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับเพศภาวะของครูผู้สอนในฐานะปัจเจกมีอิทธิพลต่อปฏิบัติการผลิตซ้ำและรื้อสร้างภาพแทนเพศภาวะในชั้นเรียน ซึ่งทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับเพศภาวะของครูผู้สอน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) ครูที่มีทัศนคติเชิงปิตาธิปไตย 2) ครูที่ทัศนคติเป็นกลางเชิงเพศภาวะ และ 3) ครูที่มีทัศนคติท้าทายต่อภาพแทนเพศภาวะ ขณะเดียวกันนักเรียนเองก็มีสถานะเป็นผู้ปฏิบัติการในการตีความ ตั้งคำถาม และท้ายทายต่อปฏิบัติการผลิตซ้ำภาพแทนเพศภาวะของครูและภาพแทนเพศภาวะที่ปรากฎในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษ โดยการปฏิบัติการในชั้นเรียนในโรงเรียนสายน้ำโขงสามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) ห้องเรียนแห่งความเงียบงานบนฐานคิดปิตาธิปไตย 2) ห้องเรียนในฐานะพื้นที่ปลอดภัยทางเพศภาวะ และ 3) ห้องเรียนที่สร้างบริบทใหม่ทางเพศภาวะen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.