Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79280
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorพอหทัย เกลี้ยงสงen_US
dc.date.accessioned2023-12-09T05:35:47Z-
dc.date.available2023-12-09T05:35:47Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79280-
dc.description.abstractThis independent study aims to investigate the behavior of generation Y in purchasing lucky stone bracelets. The research divides the sample into two groups based on birth years: those who was born between 1980 to 1989, and between 1990 to 2000. Total sample size of 400. Statistical used for data analysis include frequency analysis, percentage, mean, Chi-square, and independent sample t-test. The majority of survey respondents are female, employed in the private sector, with an average monthly income ranging from 25,001 to 35,000 Baht. Most respondents have completed a bachelor's degree. Possession of lucky stone bracelets 11 to 20 lucky stone bracelets, tend to choose bracelets that come with additional auspicious accessories such as Takrud, Pixiu and specific characteristics, including the type of stone, color, clarity, and radiance. Lucky stone bracelets purchased by consumers predominantly feature a design associated with "deities" as an additional element. Consumers obtain information through recommendations from acquaintances and make purchases through online platforms like Lazada. On average, spend 1,000 to 5,000 Baht per purchase, occurring every 5 - 6 months. Purchases are driven by appealing designs and colors, aiming to enhance confidence based on personal beliefs or peer influence. Trustworthy stores with a good reputation are preferred, and consumers often seek additional information online.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของเจเนอเรชันวายในการซื้อกำไลหินนำโชคen_US
dc.title.alternativeBehavior of generation Y in purchasing lucky stone braceleten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashการเลือกซื้อสินค้า-
thailis.controlvocab.thashกำไลมือ-
thailis.controlvocab.thashหิน-
thailis.controlvocab.thashอัญมณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของเจเนอเรชันวายในการซื้อกำไลหินนำโชค โดยศึกษาจาก เจเนอเรชันวาย ที่เคยซื้อกำไลหินนำโชค ในระยะเวลา 6 เดือน ใช้วิธีคัดเลือกตัวอย่างแบบโควต้า ตามปี พ.ศ. ที่เกิด แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เจเนอเรชันวายตอนต้น ผู้เกิดปี พ.ศ. 2523 – 2532 (ค.ศ.1980 - 1989 ) และเจเนอเรชันวายตอนปลายเกิดปี พ.ศ. 2533 - 2543 (ค.ศ. 1990 - 2000) จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ไคสแควร์ และ Independent sample t-test ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ 25,001 – 35,000 บาท ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีกำไลหินนำโชค 11 – 20 ชิ้น เลือกซื้อกำไลหินนำโชคที่มีลักษณะมีอุปกรณ์เสริมอื่นที่เป็นมงคล เช่น ตะกรุด ปี่เซียะ และเนื้อของหิน สี ความคมชัด ความตรงกับลักษณะของหิน และความมันวาว มีคุณสมบัติเสริมความร่ำรวย รูปแบบดีไซน์คือแบบ “องค์เทพ” เสริมเข้ามาในกำไลหินนำโชค รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับกำไลนำโชคผ่านการบอกกล่าวของคนรู้จัก มีช่องทางเลือกซื้อผ่าน Lazada ซึ่งมูลค่าการซื้อกำไลหินนำโชคโดยเฉลี่ยต่อครั้ง 1,000 - 5,000 บาท มีระยะเวลาความถี่ที่เลือกซื้อกำไลหินนำโชค 5-6 เดือน/ครั้ง ช่วงเวลาที่ซื้อกำไลหินนำโชคเมื่อพบสีและแบบที่ถูกใจ โดยมีวัตถุประสงค์ที่เลือกซื้อเพื่อส่งเสริมความมั่นใจ ให้เหตุผลในการเลือกซื้อกำไลหินนำโชคแบบถูกฉโลก มีเพื่อนเป็นบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อ เลือกร้านค้าในการซื้อที่มีชื่อเสียง/น่าเชื่อถือ และพบว่ามีวิธีการค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมผ่านการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532158-พอหทัย เกลี้ยงสง.pdf6.44 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.