Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปริยานุช วุฒิ ชูประดิษฐ์-
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ เขียนงาม-
dc.contributor.authorเฌอรีน ชิสา เกลี้ยงแก้วen_US
dc.date.accessioned2023-12-09T05:08:24Z-
dc.date.available2023-12-09T05:08:24Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79277-
dc.description.abstractThe name of the research is Psychometric Properties of Academic Burnout Syndrome Scale Among University Students. The purpose of this research was to study and develop the Psychometric burnout scale in university students, analyzing quantitative data by content analysis and using the model of Maslach burnout inventory in university students. It consisted of 26 items and was content-validated by five experts. The research tools were used with an experimental group of 37 students to analyze the reliability and discrimination. Subsequently, a confirmatory factor analysis was conducted with 484 students from Chiangmai University in three fields: Health Science, Science and Technology, and Liberal Arts and Social Sciences, from December 2022-January 2023. The research results was content validity index test by CVI = 0.86 and was used to test the burnout among university students. The reliability of the whole measuring questionnaire had an alpha coefficient of 0.918. When individual components were taken into consideration, it was found that emotional exhaustion = 0.807, cynicism = 0.777, and reduced academic efficacy = 0.915. From the analysis of discrimination power, it was found that the Pearson correlation coefficient was between 0.029 – 0.766. The structural equation for validity using factor analysis confirmed the fit with the empirical data, as indicated by the following statistical values 2 = 251.753, df = 217, 2 /df = 1.16, p-value = 0.0528, CFI = 0.994, TLI = 0.991, RMSEA = 0.018, SRMR = 0.029. The factor loading of the first order () of Emotional exhaustion was between 0.520 and 0.749, the factor loading of the second order () of Cynicism was between 0.381 and 0.828, and the factor loading of the third order () of Reduced academic efficacy was between 0.456 and 0.772 Key words: Psychometric Properties, Burnout Syndrome Scale, University Studentsen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดภาวะหมดไฟ ในการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativePsychometric properties of academic burn out syndrome scale among university studentsen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashจิตวิทยา-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- จิตวิทยา-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- การดำเนินชีวิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่อง “คุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดภาวะหมดไฟในการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนามาตรวัดภาวะหมดไฟในการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยและศึกษาคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดภาวะหมดไฟในการเรียนของนักศึกษา โดย แบบวัดภาวะหมดไฟในการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัย จำนวน 26 ข้อ ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน และมีการทดลองการใช้เครื่องมือวิจัยกับกลุ่มนักศึกษา จำนวน 37 คน เพื่อวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่น และค่าอำนาจจำแนก และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 484 คน ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระหว่างเดือนธันวาคม 2565 -มกราคม 2566 ผลการทดสอบค่าดรรชนีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ CVI เท่ากับ 0.86 และนำไปทดลองการใช้แบบวัดภาวะหมดไฟกับกลุ่มนักศึกษา พบว่าค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับ มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา เท่ากับ 0.918 และองค์ประกอบด้านความอ่อนล้าทางอารมณ์มี ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา เท่ากับ 0.807 องค์ประกอบด้านการเมินเฉยต่อการเรียน เท่ากับ 0.777 และองค์ประกอบด้านความสามารถในวิชาการลดลง เท่ากับ 0.915 ผลการวิเคราะห์ค่าอำนาจจำแนกพบว่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันอยู่ระหว่าง -0.029 ถึง 0.766 การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันมีความสอดคล้องกลมกลืน กับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาค่าสถิติ 2 =251.753, df = 217, 2 /df = 1.16, p-value = 0.0528, CFI =0.994, TLI =0.991,RMSEA =0.018, SRMR = 0.029 ซึ่งค่าน้ำหนักที่เป็นค่าองค์ประกอบมาตรฐาน () ด้านที่ 1 ความอ่อนล้าทางอารมณ์ (Emotional exhaustion) มีค่าระหว่าง 0.520 ถึง 0.749 ด้านที่ 2 การเมินเฉยต่อการเรียน (Cynicism) มีค่าระหว่าง 0.381 ถึง 0.828 และด้านที่ 3 ความสามารถในวิชาการลดลง (Reduced academic efficacy) มีค่าระหว่าง 0.456 ถึง 0.772 คำสำคัญ: มาตรวัดทางจิตวิทยา ภาวะหมดไฟในการเรียน นักศึกษามหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630232041_Cherreen Kliangkaew.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.