Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79276
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorธนิตา ดีพาชูen_US
dc.date.accessioned2023-12-09T05:05:31Z-
dc.date.available2023-12-09T05:05:31Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79276-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to examine the behavior of Generation Y towards online perfume purchasing through E-marketplaces with 300 respondents. The study utilized quota sampling, which was divided equally based on the E-marketplace platforms used: Shopee, Lazada, and Konvy, each containing 100 samples. The data were analyzed using descriptive statistics, including frequency, percentage, and mean. Inferential statistics included Chi-square. According to the study results, the majority of respondents were female, aged 25–32 years, married, and held a bachelor's degree. They were employed in private companies with monthly incomes ranging between 10,000 and 20,000 Baht. Dior was the most preferred perfume brand among customers. There was an opportunity to use perfume every day. The most popular brand they preferred to purchase was Chanel, and the majority of them spent between 5,001 and 7,000 Baht. The primary reason for choosing to buy perfume online was cost savings compared to purchasing perfume from a counter-brand at a department store. The main purpose of purchasing was for individual usage. The person who had the most influence on purchasing was their partner. They would buy perfume when the used bottle ran out. The frequency of purchasing perfume was more than three months, and mobile banking was used for payment Factors in the online marketing mix that affect the decision to buy premium perfume online from E-marketplace of Generation Y with the highest level were the price and place factors. For the high level that affects decision-making, including privacy, promotion, product, and personalization, respectively. The results of Chi-square examined relationships between variables. It was found that the behaviors of Generation Y were statistically significantly related to online perfume purchasing, and their last purchase through the E-marketplace included the brand of the most recently purchased perfume, the opportunity to buy perfume, the opportunity to use perfume, the frequency of using perfume, the most frequently purchased perfume brands, payment methods, and the influential people in the purchasing of perfume.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของเจเนอเรชันวายในการซื้อน้ำหอมออนไลน์en_US
dc.title.alternativeBehavior of generation Y towards online perfume purchasingen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashน้ำหอม-
thailis.controlvocab.thashการเลือกซื้อสินค้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของเจเนอเรชันวายในการซื้อน้ำหอมออนไลน์ผ่านออนไลน์ในรูปแบบ E-marketplace จากผู้ตอบแบบสอบถาม 300 ราย เลือกตัวอย่างแบบโควตาตาม E-marketplace ที่ซื้อน้ำหอม ได้แก่ Shopee, Lazada และ Konvy กลุ่มละ 100 ราย ใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย และสถิติเชิงอนุมานเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า เจเนอเรชันวายที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 25-32 ปี สถานภาพสมรส สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 -20,000 บาท แบรนด์น้ำหอมที่เลือกซื้อครั้งล่าสุด คือ แบรนด์ Dior โอกาสในการใช้น้ำหอมคือ ใช้เป็นประจำทุกวัน โดยแบรนด์ที่เลือกซื้อบ่อยที่สุด คือ Chanel และส่วนใหญ่ซื้อน้ำหอมในราคา 5,001-7,000 บาท เหตุผลที่เลือกซื้อน้ำหอมออนไลน์ เนื่องจากราคาถูกกว่าซื้อที่เคาน์เตอร์ของห้างสรรพสินค้า และมีวัตถุประสงค์เพื่อซื้อใช้เอง บุคคลที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อมากที่สุด คือ คนรัก โดยจะซื้อเมื่อน้ำหอมขวดเก่าที่ใช้กำลังจะหมด มีความถี่ในการซื้อมากกว่า 3 เดือนต่อครั้ง และชำระเงินด้วยวิธีโมบายแบงค์กิง ส่วนประสมการตลาดออนไลน์ที่มีผลในระดับมากที่สุดต่อการตัดสินใจซื้อน้ำหอมออนไลน์ของเจเนอเรชันวาย ได้แก่ ด้านราคา และช่องทางการจัดจำหน่าย และมีผลต่อการตัดสินใจในระดับมาก ได้แก่ ด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการให้บริการส่วนบุคคล ตามลำดับ เมื่อทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยค่าสถิติไคสแควร์ พบว่าพฤติกรรมของเจเนอเรชันวายที่มีความสัมพันธ์กับการซื้อน้ำหอมออนไลน์ในรูปแบบ E-marketplace ที่ซื้อครั้งล่าสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ แบรนด์น้ำหอมที่ซื้อครั้งล่าสุด โอกาสในการซื้อน้ำหอม โอกาสในการใช้น้ำหอม ความถี่ในการใช้น้ำหอม แบรนด์น้ำหอมที่ซื้อบ่อยที่สุด วิธีการชำระเงิน และบุคคลที่มีอิทธิพลในการซื้อน้ำหอมออนไลน์en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631532006-ธนิตา ดีพาชู.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.