Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79238
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMukdawan Sakboon-
dc.contributor.advisorChayan Vaddhanaphuti-
dc.contributor.advisorOlivier Evrard-
dc.contributor.authorLodge, Ellioten_US
dc.date.accessioned2023-12-03T03:42:42Z-
dc.date.available2023-12-03T03:42:42Z-
dc.date.issued2023-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79238-
dc.description.abstractWild het thop mushrooms have emerged as a conspicuous source of blame for the air pollution which plagues Northern Thailand on an annual seasonal basis, with detractors arguing that “irresponsible” villagers set the forest ablaze before foraging in the wilderness. Concurrently, and potentially as a defensive mechanism, the mushroom has taken on a significant position as an object of observable public affection in the contested and constructed cultural imagination of the north. Both developments have been preceded by a process of commodification, as a formerly traditional village product has taken on notable mass market characteristics, reflecting a steep surge in price. This research seeks to understand the practices, beliefs and narratives surrounding het thop and the roles of the people involved, its delicate economic positioning across urban and rural spaces, and the growth of its dual competing narratives – particularly the coalitions of actors on either side and the specific types of discourse they produce, which lead to the emergence of a “political mushroom”. It involves a multi-sited ethnographic approach, incorporating elements of ethnomycology, further influenced by the field of critical political ecology and its place in the context of Thai forest politics and contested environmentalism, and supplemented by an analysis of relevant public discourse. While the thesis remains narrowly focused on the journey of this humble mushroom, it engages this distinctive lens to ask broader, pertinent questions about the nature of environmentalism and economic and social change in Northern Thailand. It argues that elite-driven conservationist forms of hegemonic environmentalism remain dominant in Thailand, albeit with several key shifting dynamics. It situates het thop as a form of “salvage economy” – a liberating yet precarious exception emerging from the fragility of economic and environmental decline. Lastly, it contends that the collective of diverse, rural-urban and working-class actors comprising the defense of het thop indicates an erosion in conventional ways of understanding social divides and collective consciousness in Northern Thailand.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleForaging for northern Thailand’s political mushroom: precarious economies, social change, and contested environmentalismen_US
dc.title.alternativeการขุดค้นเพื่อความเข้าใจการเมืองเรื่องเห็ดในภาคเหนือของไทย: เศรษฐกิจที่ล่อแหลม สังคมที่เปลี่ยนแปลง และข้อโต้แย้งเรื่องสิ่งแวดล้อมนิยมen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEthnology-
thailis.controlvocab.lcshMushrooms-
thailis.controlvocab.lcshSocial change-
thailis.controlvocab.thashAir -- Pollution-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractเมื่อเพลิงไพรลุกโชนขึ้น ท่ามกลางหมอกควันที่ปกคลุมภาคเหนือของไทยเป็นประจำทุกปี ข้อกล่าวหาที่มีต่อ “เห็ดถอบ” และชาวบ้านที่ “ไร้ความรับผิดชอบ” ว่าเป็นผู้ก่อมลพิษทางอากาศ ก็ผุดขึ้นราวกับดอกเห็ดหากทว่าความชื่นชอบเห็ดป่าชนิดนี้ของสาธารณชน กลับกลายเป็นเสมือนเกราะป้องกันข้อครหาดังกล่าว ที่เกิดขึ้นภายใต้บริบทการถกเถียงเรื่องจินตนกรรมวัฒนธรรมภาคเหนือ รวมทั้งกระบวนการสำคัญของการทำให้กลายเป็นสินค้า (Commodification) ซึ่งเปลี่ยนสถานะของ “เห็ดถอบ” จากผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น เป็นสินค้ามูลค่าสูงที่เป็นที่ต้องการของตลาดมวลชน ดังนั้น งานวิจัยชิ้นนี้ จึงต้องการศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิบัติการ ความเชื่อ และเรื่องราวเกี่ยวกับ “เห็ดถอบ” ตลอดจนบทบาทของผู้คนต่างๆที่เกี่ยวข้อง ความเปราะบางของสถานะทางเศรษฐกิจของ “เห็ดถอบ” ทั้งในพื้นที่เมืองและชนบท รวมทั้งการช่วงชิงเรื่องเล่าเกี่ยวกับเห็ดชนิดนี้ ผ่านวาทกรรมที่สร้างขึ้นโดยบรรดาพันธมิตรของแต่ละฝ่าย จนนำไปสู่การเมืองเรื่องเห็ด หรือ “เห็ดทางการเมือง” งานวิจัยนี้ใช้แนวทางชาติพันธุ์วรรณาหลายพื้นที่ โดยการบูรณาการกรอบแนวคิดชาติพันธุ์วิทยาว่าด้วยการศึกษาเชื้อราและเห็ด (Ethnomycology) เข้ากับแนวคิดนิเวศวิทยาทางการเมืองเชิงวิพากษ์ (Critical Political Ecology) ภายใต้บริบทการเมืองเรื่องป่าไม้ของไทยและข้อโต้แย้งเรื่องสิ่งแวดล้อมนิยม เสริมด้วยแนวทางการวิเคราะห์วาทกรรมสาธารณะที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยใช้แนวทางที่มุ่งศึกษาวิถีทางของเห็ดเล็กๆ เพื่อตั้งคำถามสำคัญที่กว้างใหญ่กว่าตัวเห็ดเอง เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อมนิยม และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ในภาคเหนือของประเทศไทย ข้อเสนอหลักของงานศึกษาคือ กระแสสิ่งแวดล้อมนิยมครอบงำ ที่นำโดยชนชั้นสูงนักอนุรักษ์ ยังคงมีอิทธิพลอย่างสูงในประเทศไทย แม้ว่าจะมีพลวัตสำคัญหลายประการที่เปลี่ยนแปลงไปก็ตาม นอกจากนี้ งานวิจัยยังนำเสนอด้วยว่า “เห็ดถอบ” นั้นเป็นรูปแบบหนึ่งของ “เศรษฐกิจกอบกู้” (Salvage economy) – ที่แม้มีอิสระ แต่ก็ขาดเสถียรภาพ เนื่องจากภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ประการสุดท้าย งานวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่า การรวมตัวของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางสังคม ทั้งคนในเมือง คนชนบท และชนชั้นแรงงาน ในการแก้ต่างให้กับ “เห็ดถอบ” นั้น เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงการสึกกร่อนของความเข้าใจดั้งเดิมเกี่ยวกับการแบ่งแยกทางสังคม และการมีสำนึกร่วมของผู้คนในภาคเหนือของไทยen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620455802 Elliot Lodge.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.